Search results

68 results in 0.04s

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาหน้าที่และบทบาทพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน 2) เพื่อศึกษาปัญหาอุปสรรคตามหน้าที่และบทบาทพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน 3) เพื่อเสนอแนวทางการพัฒนาการจัดการการเรียนการสอนพระสอนศีลธรรมในโรงเรียนมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา เป็นการศึกษา วิจัยเชิงคุณภาพ ประชากรกลุ่มเป้าหมายเลือกแบบเจาะจง จำนวน 15 รูป/คน ประกอบไปด้วย ผู้บริหาร ผู้บริหาร อาจารย์ เจ้าหน้าที่ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา จำนวน 5 รูป/คน ครูพี่เลี้ยงพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน จำนวน 3 คน ตัวแทนพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน จำนวน 7 รูป เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสัมภาษณ์เชิงลึก ผลการวิจัยพบว่า: 1. พระสอนศีลธรรมในโรงเรียนมีหน้าที่และบทบาทด้านให้บริการวิชาการแก่สังคมมีคุณสมบัติที่ผ่านกระบวนการฝึกอบรมตามหลักสูตร ทำหน้าที่ปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมแก่นักเรียน เยาวชน และดำรงตนเป็นแบบอย่างที่ดี ไม่ได้เน้นวิชาชีพครู แต่เน้นทักษะการปฏิบัติบูรณาการพระพุทธศาสนาเข้าศิลปวัฒนธรรมประเพณี ศาสนพิธี สู่บ้าน วัด โรงเรียน ให้เกิดประโยชน์สูงสุด 2. ปัญหาอุปสรรคตามหน้าที่และบทบาทพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน คือด้านการศึกษาหลักสูตรพระสอนศีลธรรมยังไม่เข้าใจหลักสูตรที่อบรมเพราะมีระยะเวลาอบรมน้อยไป ด้านการสอนขาดความรู้เทคนิควิธีการสอน การเขียนแผนการสอน การนำเนื้อหาแผนการสอนไปใช่สื่อการสอน สื่อการสอนไม่ทันสมัยและไม่สอดคล้องกับเนื้อหาสาระ ขาดการพัฒนาผลิตสื่อการสอน 3. แนวทางการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนของพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน ด้านการศึกษาควรยกระดับการศึกษาของตนเอง ควรพัฒนาหลักสูตรพระสอนศีลธรรม มีการจัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการสอนให้ทันสมัย ด้านการสอนควรมีหลักสูตรการสอนที่มีคุณภาพ มีวิธีการใช้สื่อการสอนที่หลากหลายทันสมัยเข้าสถานณ์การปัจจุบันและสอดคล้องกับเนื้อหารายวิชา
วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาหน้าที่และบทบาทพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน 2) เพื่อศึกษาปัญหาอุปสรรคตามหน้าที่และบทบาทพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน 3) เพื่อเสนอแนวทางการพัฒนาการจัดการการเรียนการสอนพระสอนศีลธรรมในโรงเรียนมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา เป็นการศึกษา วิจัยเชิงคุณภาพ ประชากรกลุ่มเป้าหมายเลือกแบบเจาะจง จำนวน 15 รูป/คน ประกอบไปด้วย ผู้บริหาร ผู้บริหาร อาจารย์ เจ้าหน้าที่ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา จำนวน 5 รูป/คน ครูพี่เลี้ยงพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน จำนวน 3 คน ตัวแทนพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน จำนวน 7 รูป เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสัมภาษณ์เชิงลึก ผลการวิจัยพบว่า: 1. พระสอนศีลธรรมในโรงเรียนมีหน้าที่และบทบาทด้านให้บริการวิชาการแก่สังคมมีคุณสมบัติที่ผ่านกระบวนการฝึกอบรมตามหลักสูตร ทำหน้าที่ปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมแก่นักเรียน เยาวชน และดำรงตนเป็นแบบอย่างที่ดี ไม่ได้เน้นวิชาชีพครู แต่เน้นทักษะการปฏิบัติบูรณาการพระพุทธศาสนาเข้าศิลปวัฒนธรรมประเพณี ศาสนพิธี สู่บ้าน วัด โรงเรียน ให้เกิดประโยชน์สูงสุด 2. ปัญหาอุปสรรคตามหน้าที่และบทบาทพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน คือด้านการศึกษาหลักสูตรพระสอนศีลธรรมยังไม่เข้าใจหลักสูตรที่อบรมเพราะมีระยะเวลาอบรมน้อยไป ด้านการสอนขาดความรู้เทคนิควิธีการสอน การเขียนแผนการสอน การนำเนื้อหาแผนการสอนไปใช่สื่อการสอน สื่อการสอนไม่ทันสมัยและไม่สอดคล้องกับเนื้อหาสาระ ขาดการพัฒนาผลิตสื่อการสอน 3. แนวทางการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนของพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน ด้านการศึกษาควรยกระดับการศึกษาของตนเอง ควรพัฒนาหลักสูตรพระสอนศีลธรรม มีการจัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการสอนให้ทันสมัย ด้านการสอนควรมีหลักสูตรการสอนที่มีคุณภาพ มีวิธีการใช้สื่อการสอนที่หลากหลายทันสมัยเข้าสถานณ์การปัจจุบันและสอดคล้องกับเนื้อหารายวิชา
The objectives of this thesis were as follows; 1) to study the duties and roles of monks teaching morality in schools under 2) to study problems and obstacles in their duties and roles of monks teaching morality in schools under 3) to propose guidelines for development of teaching and learning management of monks teaching morality under It was a qualitative research with through specific selection of 15 people as target population comprising 5 executive administrators, lecturers and staff from Mahamakut Buddhist University; Lanna Campus, 5 mentors of monk teaching morality in schools and 7 representatives of monks teaching morality in schools. The research tools were in-depth interviews. The results of research were found that: 1. The monks teaching morality in schools had duties and roles in providing academic service to society. They were qualified through the training process according to the curriculum and they served to instill morals and ethics to students and youth and lived as a good example. They did not focus on teaching profession, but on practical skills in integration of Buddhism into arts, culture, traditions and religious ceremonies in houses, temples and schools for maximum benefit. 2. Problems and obstacles in the duties and roles monks teaching morality in schools were that in terms of education, the monks did not understand curriculum because of short training period. In terms of teaching, they lacked the knowledge of teaching techniques, writing lesson plans and using lesson plan content. In term of teaching materials, they were not up-to-date and inconsistent with the contents. The monks also lacked development of teaching materials. 3. Guidelines for development of teaching and learning management of monks teaching morality in schools were that in term of education, the monks should raise the level of their education and develop a curriculum for monks teaching morality. There should be seminars and workshops to modernize teaching. In terms of teaching, there should be qualified teaching curriculum, methods of using various and modern teaching materials to suit the current situation and conform to the course contents.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,วิทยานิพนธ์(ศน.ม)มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2541
Note: ฉบับอัดสำเนา,วิทยานิพนธ์(ศน.ม)มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2541
หนังสือ

หนังสือ

    สิ่งพิมพ์ สกศ. อันดับที่61/2554
สิ่งพิมพ์ สกศ. อันดับที่61/2554