Search results

30 results in 0.04s

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • อานาปานสติคือทางสู่พระนิพพาน
  • อานาปานสติกาย (กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน)
  • อานาปานสติฐานเวทนา (เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน)
  • อานาปานสติฐานธรรม (ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน)
  • พระอริยเจ้าอยู่เหนือปัจจุบัน
  • บทสรุปอานาปานสติ
  • ความรู้เกี่ยวกับนิมิต
  • โพชฌงค์เจ็ด
  • อานาปานสติกาย (กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน)
  • อานาปานสติสูตร คือกรรมฐานหลัง
  • พุทธศาสนาอายุ 5,000 ปี จริงหรือ?
  • อานาปานสติจากคัมภีร์วิมุตติมรรค
  • โครงสร้างของมหาสติปัฏฐานสูตร
หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • บทที่ 1 อานาปานสติภาวนา 16 ขั้น
  • บทที่ 2 การเจริญอานาปานสติภาวนา
  • บทที่ 3 กระบวนการพัฒนาปัญญาญาณ
  • บทที่ 4 ระดับสมาธิในการเจริญวิปัสสนาภาวนา
  • บทที่ 5 ลำดับการปฏิบัติกรรมฐาน
  • บทที่ 6 หลักปฏิบัติอานาปานสติขั้นที่ 1-4
  • บทที่ 7 วิธียกฌานขึ้นสู่วิปัสสนาในอานาปานสติขั้นที่ 5-16 - บทที่ 8 บรรลุวิชชาและวิมุตติ
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

    การศึกษาดุษฎีนิพนธ์เรื่องการพัฒนาศักยภาพทางความฉลาดของเยาวชนด้วยอานาปานสติในพระพุทธศาสนามีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการพัฒนาความฉลาดของเยาวชน 2) เพื่อศึกษาหลักอานาปานสติในพระพุทธศาสนา 3) เพื่อบูรณาการการพัฒนาความฉลาดของเยาวชน ด้วยหลักอานาปานสติในพระพุทธศาสนา 4) เพื่อนำเสนอแนวทางและองค์ความรู้เกี่ยวกับ “บูรณาการการพัฒนาความฉลาดของเยาวชนด้วยหลักอานาปานสติในพระพุทธศาสนา” เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพแบบวิจัยเอกสารโดยศึกษาเนื้อหาจากเอกสารวิชาการ พระไตรปิฎก อรรถกถา และสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth interview) จากผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 12 รูป/คน ผลการวิจัยพบว่า 1.การพัฒนาศักยภาพทางความฉลาดของเยาวชนประกอบด้วยการพัฒนาด้านความฉลาดทางคุณธรรม จริยธรรม (MQ) และความฉลาดในการแก้ปัญหาฝ่าฟันอุปสรรคของเยาวชน (AQ) 2.อานาปานสติในพระพุทธศาสนา หมายถึง การทำสมาธิในพระพุทธศาสนาที่ใช้การกำหนดลมหายใจโดยมีสติกำกับใช้ในการทำให้จิตสงบ มีสมาธิ มีสติสัมปชัญญะ เพื่อพร้อมใช้พิจารณาปรากฏการณ์ 3.การบูรณาการการพัฒนาศักยภาพทางความฉลาดของเยาวชนด้วยหลักอานาปานสติในพระพุทธศาสนาด้วยวิธีการให้เยาวชนทำอานาปานสติจนจิตสงบก่อนแล้วจึงสอนความฉลาดทางคุณธรรม จริยธรรม (MQ) เรื่องความซื่อสัตย์ ความมีวินัย และความมีน้ำใจ และสอนความฉลาดในการแก้ปัญหาฝ่าฟันอุปสรรคของเยาวชน (AQ) เรื่องการรู้จักควบคุมตนเอง การมีความรับผิดชอบต่อปัญหา การประเมินสถานการณ์ และวิธีตอบสนองต่อปัญหา ต่อจากนั้นชี้คุณและโทษให้เยาวชนพิจารณา โดยต้องให้ทำตามหลักอานาปานสติที่ถูกต้อง ให้เยาวชนทำอย่างต่อเนื่อง และผู้ใหญ่ต้องทำเป็นตัวอย่าง 4.แนวทางและองค์ความรู้เกี่ยวกับ “การบูรณาการการพัฒนาศักยภาพทางความฉลาดของเยาวชนด้วยหลักอานาปานสติในพระพุทธศาสนา” สามารถสรุปเป็นTDRAMA MODEL
การศึกษาดุษฎีนิพนธ์เรื่องการพัฒนาศักยภาพทางความฉลาดของเยาวชนด้วยอานาปานสติในพระพุทธศาสนามีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการพัฒนาความฉลาดของเยาวชน 2) เพื่อศึกษาหลักอานาปานสติในพระพุทธศาสนา 3) เพื่อบูรณาการการพัฒนาความฉลาดของเยาวชน ด้วยหลักอานาปานสติในพระพุทธศาสนา 4) เพื่อนำเสนอแนวทางและองค์ความรู้เกี่ยวกับ “บูรณาการการพัฒนาความฉลาดของเยาวชนด้วยหลักอานาปานสติในพระพุทธศาสนา” เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพแบบวิจัยเอกสารโดยศึกษาเนื้อหาจากเอกสารวิชาการ พระไตรปิฎก อรรถกถา และสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth interview) จากผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 12 รูป/คน ผลการวิจัยพบว่า 1.การพัฒนาศักยภาพทางความฉลาดของเยาวชนประกอบด้วยการพัฒนาด้านความฉลาดทางคุณธรรม จริยธรรม (MQ) และความฉลาดในการแก้ปัญหาฝ่าฟันอุปสรรคของเยาวชน (AQ) 2.อานาปานสติในพระพุทธศาสนา หมายถึง การทำสมาธิในพระพุทธศาสนาที่ใช้การกำหนดลมหายใจโดยมีสติกำกับใช้ในการทำให้จิตสงบ มีสมาธิ มีสติสัมปชัญญะ เพื่อพร้อมใช้พิจารณาปรากฏการณ์ 3.การบูรณาการการพัฒนาศักยภาพทางความฉลาดของเยาวชนด้วยหลักอานาปานสติในพระพุทธศาสนาด้วยวิธีการให้เยาวชนทำอานาปานสติจนจิตสงบก่อนแล้วจึงสอนความฉลาดทางคุณธรรม จริยธรรม (MQ) เรื่องความซื่อสัตย์ ความมีวินัย และความมีน้ำใจ และสอนความฉลาดในการแก้ปัญหาฝ่าฟันอุปสรรคของเยาวชน (AQ) เรื่องการรู้จักควบคุมตนเอง การมีความรับผิดชอบต่อปัญหา การประเมินสถานการณ์ และวิธีตอบสนองต่อปัญหา ต่อจากนั้นชี้คุณและโทษให้เยาวชนพิจารณา โดยต้องให้ทำตามหลักอานาปานสติที่ถูกต้อง ให้เยาวชนทำอย่างต่อเนื่อง และผู้ใหญ่ต้องทำเป็นตัวอย่าง 4.แนวทางและองค์ความรู้เกี่ยวกับ “การบูรณาการการพัฒนาศักยภาพทางความฉลาดของเยาวชนด้วยหลักอานาปานสติในพระพุทธศาสนา” สามารถสรุปเป็นTDRAMA MODEL
The objectives of this dissertation were as follows; 1) to study the development of quotient potential of the youths, 2) to study the principles of Ānāpānasati in Buddhism, 3) to integrate the development of quotient potential of the youths with Ānāpānasati in Buddhism, and 4) to propose guidelines in building new knowledge regarding “the Model of integrating Quotient Potential Development of the Youths by Ānāpānasati”. The data of this documentary qualitative research were collected from academic works, the Tipittaka, Commentaries, and indepth interviews with 12 experts. The results of the study indicated that: 1.The development of quotient potential of the youths consists of developing in Moral Quotient (MQ) and Adversity Quotient (AQ) 2.Ānāpānasati in Buddhism refers to concentration on mindful breathing to calm the mind for phenomenon consideration. 3.Integrating the Quotient Potential development of the youths with Ānāpānasati principles in Buddhism is to allow the youths to practice ānāpānasati until their mind is calm enough. Then the Moral Quotient (MQ) on honesty, discipline and kindness and Adversity Quotient (AQ) on self-control, responsibility for problems, situation assessment and how to respond to problems are taught to them. Finally, let them consider advantages and disadvantages of problems based on Ānāpānasati principles. The youths do it continuously under the supervision and guidelines of adults. 4.The guidelines and body of knowledge about integrating the Quotient Potential development of the youths with Ānāpānasati principles in Buddhism can be summarized into a “TDRAMA Model”.