Search results

1,752 results in 0.45s

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,วิทยานิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2551
Note: ฉบับอัดสำเนา,วิทยานิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2551
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,วิทยนิพนธ์(ศน.ม)มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2534
Note: ฉบับอัดสำเนา,วิทยนิพนธ์(ศน.ม)มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2534
หนังสือ

    ไฟล์หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ พระไตรปิฏกฉบับสยามรัฐ โดยสำนักงานวิทยทรัพยากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Note: ไฟล์หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ พระไตรปิฏกฉบับสยามรัฐ โดยสำนักงานวิทยทรัพยากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
TOC:
  • ล.1 วินยปิฏเก มหาวิภงฺคสฺส [ปฐโม ภาโค] : เวรญฺชกณฺฑปาราชิกกณฺฑอนิยตกณฺฑา
  • ล.2 วินยปิฏเก มหาวิภงฺคสฺส [ทุติโย ภาโค] : นิสฺสคฺคิยกณฺฑปาฎิเทสนียกณฺฑเสขิยกณฺฑา
  • ล.3 วินยปิฏเก ภิกฺขุนีวิภงฺโค
  • ล.4 วินยปิฏเก มหาวคฺคสฺส [ปฐโม ภาโค]
  • ล.5 วินยปิฏเก มหาวคฺคสํส [ทุติโย ภาโค]
  • ล.6 วินยปิฏเก จุลฺลวคฺคสฺส [ปฐโม ภาโค]
  • ล.7 วินยปิฏเก จุลฺลวคฺคสฺส [ทุติโย ภาโค]
  • ล.8 วินยปิฏเก ปริวาโร
  • ล.9 สุตฺตนฺตปิฏเก ทีฆนิกายสฺส สีลกฺขนฺธวคฺโค
  • ล.10 สุตฺตนฺตปิฏเก ทีฆนิกายสฺส สีลกฺขนฺธวคฺโค มหาวคฺโค
  • ล.11 สุตฺตนฺตปิฏเก ทีฆนิกายสฺส ปาฏิกวคฺโค
  • ล.12 สุตฺตนฺตปิฏเก มชฺฌิมนิกายสฺส มูลปณฺณาสกํ
  • ล.13 สุตฺตนฺตปิฏเก มชฺฌิมนิกายสฺส มชฺฌิมปณฺณาสกํ
  • ล.14 สุตฺตนฺตปิฏเก มชฺฌิมนิกายสฺส อุปริปณฺณาสกํ
  • ล.15 สุตฺตนฺตปิฏเก สัยุตฺตนิกายสฺส สคาถวคฺโค
  • ล.16 สุตฺตนฺตปิฏเก สัยุตฺตนิกายสฺส นิทานวคฺโค
  • ล.17 สุตฺตนฺตปิฎเก สํยุตฺตนิกายสฺส ขนฺธวารวคฺโค
  • ล.18 สุตฺตนฺตปิฎเก สํยุตฺตนิกายสฺส สพายตนวคฺโค
  • ล.19 สุตฺตนฺตปิฎเก สํยุตฺตนิกายสฺส มหาวารวคฺโค
  • ล.20 สุตฺตนฺตปิฎเก องฺคุตฺตรนิกายสฺส [ปฐโม ภาโค]
  • ล.21 สุตฺตนฺตปิฎเก องฺคุตฺตรนิกายสฺส [ทุติโย ภาโค]
  • ล.22 สุตฺตนฺตปิฎเก องฺคุตฺตรนิกายสฺส [ตติโย ภาโค]
  • ล.23 สุตฺตนฺตปิฎเก องฺคุตฺตรนิกายสฺส [จตุตฺโถ ภาโค]
  • ล.24 สุตฺตนฺตปิฎเก องฺคุตฺตรนิกายสฺส [ปญฺจโม ภาโค]
  • ล.25 สุตฺตนฺตปิฎเก ขุทฺทกนิกายสฺส ขุทฺทกปาฐ-ธมฺมปทคาถา-อุทาน-อิติวุตฺตก-สุตฺตนิปาตา
  • ล.26 สุตฺตนฺตปิฎเก ขุทฺทกนิกายสฺส วิมานวตฺฤ-เปตวตฺถุ-เถรคาถา-เถรีคาถา
  • ล.27 สุตฺตนฺตปิฎเก ขุทฺทกนิกายสฺส ชาดกํ [ปฐโม ภาโค] : เอก-จตฺตาลี่สนิปาตชาดกกํ
  • ล.28 สุตฺตนฺตปิฎเก ขุทฺทกนิกายสฺส ชาดกํ [ทุติโย ภาโค] : ปญญาส-มหานิปาตชาดกํ
  • ล.29 สุตฺตนฺตปิฎเก ขุทฺทกนิกายสฺส มหานิทฺเทโส
  • ล.30 สุตฺตนฺตปิฎเก ขุทฺทกนิกายสฺส จูฬนิทฺเทโส
  • ล.31 สุตฺตนฺตปิฎเก ขุทฺทกนิกายสฺส ปฏิสมฺภิทามคฺโค
  • ล.32 สุตฺตนฺตปิฎเก ขุทฺทกนิกายสฺส อปทานสฺส [ปฐโม ภาโค]
  • ล.33 สุตฺตนฺตปิฎเก ขุทฺทกนิกายสฺส อปทานสฺส [ทุติโย ภาโค]
  • ล.34 อภิธมฺมปิฏเก ธมฺมสงฺคณิ
  • ล.35 อภิธมฺมปิฏเก วิภงฺโค
  • ล.36 อภิธมฺมปิฏเก ธาตุกถา เจว ปุคฺคลปญฺญตฺติ
  • ล.37 อภิธมฺมปิฏเก กถาวตฺถุ
  • ล.38 อภิธมฺมปิฏเก ยมกํ [ปฐโม ภาโค]
  • ล.39 อภิธมฺมปิฏเก ยมกํ [ทุติโย ภาโค]
  • ล.40 อภิธมฺมปิฏเก ปฏฐานํ [ปฐโม ภาโค]
  • ล.41 อภิธมฺมปิฏเก ปฏฐานํ [ทุติโย ภาโค]
  • ล.42 อภิธมฺมปิฏเก ปฏฐานํ [ตติโย ภาโค]
  • ล.43 อภิธมฺมปิฏเก ปฏฐานํ [จตุตฺโถ ภาโค]
  • ล.44 อภิธมฺมปิฏเก ปฏฐานํ [ปญฺจโม ภาโค]
  • ล.45 อภิธมฺมปิฏเก ปฏฐานํ [ฉฏฐโม ภาโค]
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาวิชาการจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาวิชาการจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,วิทยานิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2550
ฉบับอัดสำเนา,วิทยานิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2550
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) มีวัตถุประสงค์สามประการดังนี้ 1) เพี่อศึกษาความคิดเห็นของคณะกรรมการหมู่บ้านต่อการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง อำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด 2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นต่อการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง อำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด ของคณะกรรมการหมู่บ้านที่มีเพศ อายุ และระดับการศึกษา ต่างกัน และ 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง อำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเชิงปริมาณ ได้แก่ คณะกรรมการหมู่บ้านในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง อำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด จำนวน 114 คน กำหนดขนาดตัวอย่างโดยใช้สูตรของทาโร ยามาเน (Taro Yamane) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่าห้าระดับ โดยมีค่าความเชื่อมั่น (Reliability) ทั้งฉบับเท่ากับ .98 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ (Frequency) ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และสถิติอนุมานหรืออ้างอิง ได้แก่ การทดสอบค่าที (t-test) กับการทดสอบความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) หรือ F-test ในการวิจัยเชิงคุณภาพ ประชากรกลุ่มเป้าหมายได้แก่ ผู้ใหญ่บ้านหรือตัวแทน จำนวน 12 คน จาก 12 หมู่บ้านในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง อำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด เป็นผู้ให้ข้อมูลสำคัญ (Key Informants) เป็นผู้ให้ข้อมูลสำคัญ (Key Informants) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่แบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง (Semi-structured Interview) กล้องถ่ายรูป และเทปบันทึกเสียง ผลการวิจัยพบว่า 1) ความคิดเห็นของคณะกรรมการหมู่บ้านต่อการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง อำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน อยู่ในระดับมากทั้งหกด้าน เรียงจากด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านหลักความคุ้มค่า ด้านหลักความโปร่งใส ด้านหลักคุณธรรม ด้านหลักความรับผิดชอบ ด้านหลักการมีส่วนร่วมและด้านหลักนิติธรรม ตามลำดับ 2) ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า คณะกรรมการหมู่บ้าน ที่มีเพศ และระดับการศึกษา ต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการบริหารตามหลัก ธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง อำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ดโดยรวม ไม่แตกต่างกัน 3) ข้อเสนอแนะที่ได้จากการวิจัยครั้งนี้ ลำดับตามความถี่สูงไปหาต่ำ สามอันดับแรก คือ ผู้บริหารควรบริหารงานโดยยึดความถูกต้องและความต้องการของประขาชนเป็นหลัก คณะผู้บริหารและพนักงานส่วนตำบลควรสร้างจิตสำนึกที่ดีให้เกิดขึ้นในการปฏิบัติหน้าที่ และควรบริหารจัดการและใช้ทรัพยากรที่มีอยู่จำกัดโดยคำนึงถึงหลักความประหยัดใช้ของให้เกิดความคุ้มค่าให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ส่วนรวม
วิทยานิพนธ์นี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) มีวัตถุประสงค์สามประการดังนี้ 1) เพี่อศึกษาความคิดเห็นของคณะกรรมการหมู่บ้านต่อการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง อำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด 2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นต่อการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง อำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด ของคณะกรรมการหมู่บ้านที่มีเพศ อายุ และระดับการศึกษา ต่างกัน และ 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง อำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเชิงปริมาณ ได้แก่ คณะกรรมการหมู่บ้านในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง อำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด จำนวน 114 คน กำหนดขนาดตัวอย่างโดยใช้สูตรของทาโร ยามาเน (Taro Yamane) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่าห้าระดับ โดยมีค่าความเชื่อมั่น (Reliability) ทั้งฉบับเท่ากับ .98 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ (Frequency) ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และสถิติอนุมานหรืออ้างอิง ได้แก่ การทดสอบค่าที (t-test) กับการทดสอบความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) หรือ F-test ในการวิจัยเชิงคุณภาพ ประชากรกลุ่มเป้าหมายได้แก่ ผู้ใหญ่บ้านหรือตัวแทน จำนวน 12 คน จาก 12 หมู่บ้านในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง อำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด เป็นผู้ให้ข้อมูลสำคัญ (Key Informants) เป็นผู้ให้ข้อมูลสำคัญ (Key Informants) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่แบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง (Semi-structured Interview) กล้องถ่ายรูป และเทปบันทึกเสียง ผลการวิจัยพบว่า 1) ความคิดเห็นของคณะกรรมการหมู่บ้านต่อการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง อำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน อยู่ในระดับมากทั้งหกด้าน เรียงจากด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านหลักความคุ้มค่า ด้านหลักความโปร่งใส ด้านหลักคุณธรรม ด้านหลักความรับผิดชอบ ด้านหลักการมีส่วนร่วมและด้านหลักนิติธรรม ตามลำดับ 2) ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า คณะกรรมการหมู่บ้าน ที่มีเพศ และระดับการศึกษา ต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการบริหารตามหลัก ธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง อำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ดโดยรวม ไม่แตกต่างกัน 3) ข้อเสนอแนะที่ได้จากการวิจัยครั้งนี้ ลำดับตามความถี่สูงไปหาต่ำ สามอันดับแรก คือ ผู้บริหารควรบริหารงานโดยยึดความถูกต้องและความต้องการของประขาชนเป็นหลัก คณะผู้บริหารและพนักงานส่วนตำบลควรสร้างจิตสำนึกที่ดีให้เกิดขึ้นในการปฏิบัติหน้าที่ และควรบริหารจัดการและใช้ทรัพยากรที่มีอยู่จำกัดโดยคำนึงถึงหลักความประหยัดใช้ของให้เกิดความคุ้มค่าให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ส่วนรวม
This Thesis was the mixed methods research, which consisted of three specific objectives namely; 1) to study village committees’ opinions on good governance-based administration at Tambon Kamphaeng Administrative Organization in Kaset Wisai district, Roi Et province, 2) to compare their opinions on good governance-based administration at the aforesaid area, resting upon differences in their genders, ages and educational levels and, 3) to study their suggestions and development guidelines on good governance-based administration at the aforesaid area. The research populations comprised village committees from 12 villages of Kamphaeng sub-districts in Kaset Wisai District’s authorized area, numbering 159 individuals. The sampling group was set against Taro Yamane’s table, earning 114 subjects. The instrument used for data collection was the five-rating-scale questionnaires, each of which was endowed with the reliability at 0.86. The statistical tools for computing data encompassed percentage, mean, standard deviation. The statistics used for the research incorporate: percentage, mean, standard deviation, t-test and F-test. In the qualitative research, the target population of this type consisted of villages’ headmen or representatives from from 12 villages of Kamphaeng sub-districts with a total of 12 people. All of them were the key informants who were purposely selected, one informant from each sub-district. The research tools were composed of a semi-structured interview, a camera and a tape recorder. Outcomes of the research summarized the following major findings: 1) Village committees’ opinions on good governance-based administration at Tambon Kamphaeng Administrative Organization in Kaset Wisai district, Roi Et province were comprehensively rated at the ‘more’ scales in all six aspects. In term of a single one, three aspects with the highest, lower and lowest means included those of: i) participation, ii) ethics) and iii) value of money. 2) The comparative results of residents’ opinions on its good governance-based administration in the district confirmed that variables of their genders, ages and educational levels showed no significant differences in the overall aspect. 3) Suggestions for its good governance-based administration were recommended in descending order of three frequencies that its administrators should: i) executives should be administered by the anchor and the requirements of main impacts, ii) the executives and Tambon Kamphaeng Administrative Organization’s officials should create conscience occurs in the performance of duties, iii) should manage and use the limited resources by consideration of the principal economy, cause value, and the most benefits to public.
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์เรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ คือ มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล ขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด 2) เพื่อเปรียบเทียบการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล ขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด ตามความคิดเห็นของประชาชนที่เพศ อายุ ระดับการศึกษา และการประกอบอาชีพ ต่างกัน และ3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะของประชาชนในการพัฒนาการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล ขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ประชาชนที่เป็นหัวหน้าครัวเรือน หรือตัวแทน ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล อำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด จำนวน 381คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่าห้าระดับ จำนวน 30 ข้อ มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .92 สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One Way ANOVA : F-test) โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ประกอบการวิเคราะห์ ผลการวิจัยเชิงปริมาณ พบว่า : 1) ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล ขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด โดยรวม อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมากทั้งหกด้าน เรียงจากด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านหลักความรับผิดชอบ ด้านหลักนิติธรรม ด้านหลักคุณธรรม ด้านหลักความโปร่งใส ด้านหลักการมีส่วนร่วม และด้านหลักความคุ้มค่า 2) ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ประชาชนที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และการประกอบอาชีพต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล ขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด โดยรวม ไม่แตกต่างกัน และ 3) ประชาชนมีข้อเสนอแนะของในการพัฒนาการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล ขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ดเรียงลำดับตามความถี่จากสูงไปหาต่ำสามอันดับแรก ได้แก่ ควรให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายการบริหารจัดการ ควรจัดอบรมด้านคุณธรรมให้กับบุคลากรองค์การบริหารส่วนตำบลทุกปี และควรประชาสัมพันธ์ข้อบัญญัติให้ประชาชนทราบทุกครั้ง ผลการวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่าองค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด บริหารจัดการ ตามหลักธรรมาภิบาลทั้งหกด้านปรากฏในระดับมาก ทั้งนี้เป็นเพราะเพราะเป็นองค์การและบุคลากรมีที่มาโดยกฎหมาย จึงต้องบริหารจัดการตามที่กฎหมายกำหนด ยึดหลักศาสนาพุทธเป็นแนวทางในการปฏิบัติ ประชาชนมีส่วนร่วมในการบริหารอย่างพร้อมเพียง การบริหารจัดการ มีความโปร่งใสด้วย มีการเชิญประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจรับงานต่างๆอย่างต่อเนื่อง ผู้บริหารและสมาชิกสภามีความรับผิดชอบสูงเพราะมี ประชาชนคอยติดตามตรวจสอบ การบริหารจัดงานดำเนินการอย่างคุ้มค่า เพราะมีการพัฒนาและการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดี
วิทยานิพนธ์เรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ คือ มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล ขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด 2) เพื่อเปรียบเทียบการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล ขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด ตามความคิดเห็นของประชาชนที่เพศ อายุ ระดับการศึกษา และการประกอบอาชีพ ต่างกัน และ3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะของประชาชนในการพัฒนาการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล ขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ประชาชนที่เป็นหัวหน้าครัวเรือน หรือตัวแทน ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล อำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด จำนวน 381คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่าห้าระดับ จำนวน 30 ข้อ มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .92 สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One Way ANOVA : F-test) โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ประกอบการวิเคราะห์ ผลการวิจัยเชิงปริมาณ พบว่า : 1) ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล ขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด โดยรวม อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมากทั้งหกด้าน เรียงจากด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านหลักความรับผิดชอบ ด้านหลักนิติธรรม ด้านหลักคุณธรรม ด้านหลักความโปร่งใส ด้านหลักการมีส่วนร่วม และด้านหลักความคุ้มค่า 2) ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ประชาชนที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และการประกอบอาชีพต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล ขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด โดยรวม ไม่แตกต่างกัน และ 3) ประชาชนมีข้อเสนอแนะของในการพัฒนาการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล ขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ดเรียงลำดับตามความถี่จากสูงไปหาต่ำสามอันดับแรก ได้แก่ ควรให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายการบริหารจัดการ ควรจัดอบรมด้านคุณธรรมให้กับบุคลากรองค์การบริหารส่วนตำบลทุกปี และควรประชาสัมพันธ์ข้อบัญญัติให้ประชาชนทราบทุกครั้ง ผลการวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่าองค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด บริหารจัดการ ตามหลักธรรมาภิบาลทั้งหกด้านปรากฏในระดับมาก ทั้งนี้เป็นเพราะเพราะเป็นองค์การและบุคลากรมีที่มาโดยกฎหมาย จึงต้องบริหารจัดการตามที่กฎหมายกำหนด ยึดหลักศาสนาพุทธเป็นแนวทางในการปฏิบัติ ประชาชนมีส่วนร่วมในการบริหารอย่างพร้อมเพียง การบริหารจัดการ มีความโปร่งใสด้วย มีการเชิญประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจรับงานต่างๆอย่างต่อเนื่อง ผู้บริหารและสมาชิกสภามีความรับผิดชอบสูงเพราะมี ประชาชนคอยติดตามตรวจสอบ การบริหารจัดงานดำเนินการอย่างคุ้มค่า เพราะมีการพัฒนาและการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดี
The objectives of the research were 1) to study the residents’ opinions on good governance-based administration of tambon administrative organizations in Jaturaphakpiman District, Roi-et Provice, 2) to compare their opinions on its good governance-based administration, resting on the classification of the genders, ages, educational levels and occupations and 3) to regulate suggestions to improve good governance-based administration of tambon administrative organizations. The sample group comprised of 381 residents who are the heads of the families or his/her representatives pertaining to tambon administrative organizations in Jaturaphakpiman District. The research instrument was 30 items of five rating questionnaires gaining the reliability at .92. The statistic tools exploited for the research for the research encompassed frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test and One Way ANOVA : F-test. The results of the quantitative research were as follows; 1) The opinions of the residents on good governance-based administration of tambon administrative organizations in Jaturaphakpiman District, Roi-et Province as overall and all aspects were rated at high level. The aspects placed in descending order of means take in; responsibility, rule of law, virtues, transparency, participation and effectiveness. 2) The comparative results of their opinions of the residents on good governance-based administration indicated that the variables of their genders, ages, educational levels and occupations showed no significant differences in the overall and aspects. 3) Their suggestions in descending order of three frequencies for its good governance-based administration were recommended. First, the people should be participated in the administrative public policy. Second, the virtue training of personnel should be held yearly, Finally, people should be informed of all rule and laws of tambon administrative organizations. The result of the qualitative research was found that the opinions of the residents on good governance-based administration of tambon administrative organizations in Jaturaphakpiman District, Roi-et Province as overall and all aspects were rated at high level because the organizations and the personnel were established by law and administers under the law, performing work as the teaching of Buddhism, the residents participate in administration, the work management was carried on transparently, the executive and the members of the assembly were elected work under accountability due to the checking of the residents, the work administration and management was carried on effectively because there are changes in good ways.
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลปรือใหญ่ อำเภอขุขันธ์ จังหวัดศรีสะเกษ 2) เพื่อเปรียบเทียบระดับการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลปรือใหญ่ อำเภอขุขันธ์ จังหวัดศรีสะเกษ จำแนกตามเพศ อายุ ระดับการศึกษา และอาชีพ และ 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลปรือใหญ่ อำเภอขุขันธ์ จังหวัดศรีสะเกษ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ประชาชนผู้มีสิทธิ์เลือกตั้งในเขตองค์การบริการส่วนตำบลปรือใหญ่ อำเภอขุขันธ์ จังหวัดศรีสะเกษ จำนวนคน 381 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ จำนวน 30 ข้อ มีความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .81 สถิติที่ใช้การวิเคราะห์ข้อมูล ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน t-test และ F-test (One-way ANOVA) โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัย พบว่า 1) ประชาชนเห็นว่า องค์การบริหารส่วนตำบลมีการบริหารตามหลักธรรมาภิบาล โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อจำแนกเป็นรายด้าน พบว่า มีการบริหารตามหลักธรรมาภิบาล อยู่ในระดับมาก 3 ด้าน โดยเรียงค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านหลักการมีส่วนร่วม ด้านหลักความคุ้มค่า ด้านหลักความรับผิดชอบ และมีการบริหารอยู่ในระดับปานกลางอีก 3 ด้าน โดยเรียงค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านหลักนิติธรรม ด้านหลักคุณธรรม และด้านหลักความโปร่งใส และเมื่อจำแนกรายด้านในแต่ละด้านเป็นรายข้อ พบว่า 2) ประชาชนที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษาต่างกัน เห็นว่าองค์การบริหาร ส่วนตำบลมีการบริหารตามหลักธรรมาภิบาล โดยรวมและรายด้านทุกด้าน ไม่แตกต่างกัน ส่วนประชาชนที่มีอาชีพต่างกัน เห็นว่าองค์การบริหารส่วนตำบลมีการบริหารตามหลักธรรมาภิบาล ด้านหลักความรับผิดชอบ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) ข้อเสนอแนะของประชาชนเกี่ยวกับการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลปรือใหญ่ ควรมีการเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้บริหารและบุคลากรในหน่วยงานอย่างทั่วถึงและสม่ำเสมอ ควรนำข้อเสนอแนะที่ได้รับจากประชาชนทุกปัญหามาปรับปรุงแก้ไขให้ทันต่อสภาวะที่เกิดขึ้น และเปิดโอกาสให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการหน่วยงานหรือดำเนินโครงการแต่ละโครงการ เพื่อให้เกิดความรู้สึกเป็นเจ้าของชุมชน เกิดความรัก หวงแหนต่อหน่วยงาน
วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลปรือใหญ่ อำเภอขุขันธ์ จังหวัดศรีสะเกษ 2) เพื่อเปรียบเทียบระดับการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลปรือใหญ่ อำเภอขุขันธ์ จังหวัดศรีสะเกษ จำแนกตามเพศ อายุ ระดับการศึกษา และอาชีพ และ 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลปรือใหญ่ อำเภอขุขันธ์ จังหวัดศรีสะเกษ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ประชาชนผู้มีสิทธิ์เลือกตั้งในเขตองค์การบริการส่วนตำบลปรือใหญ่ อำเภอขุขันธ์ จังหวัดศรีสะเกษ จำนวนคน 381 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ จำนวน 30 ข้อ มีความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .81 สถิติที่ใช้การวิเคราะห์ข้อมูล ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน t-test และ F-test (One-way ANOVA) โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัย พบว่า 1) ประชาชนเห็นว่า องค์การบริหารส่วนตำบลมีการบริหารตามหลักธรรมาภิบาล โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อจำแนกเป็นรายด้าน พบว่า มีการบริหารตามหลักธรรมาภิบาล อยู่ในระดับมาก 3 ด้าน โดยเรียงค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านหลักการมีส่วนร่วม ด้านหลักความคุ้มค่า ด้านหลักความรับผิดชอบ และมีการบริหารอยู่ในระดับปานกลางอีก 3 ด้าน โดยเรียงค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านหลักนิติธรรม ด้านหลักคุณธรรม และด้านหลักความโปร่งใส และเมื่อจำแนกรายด้านในแต่ละด้านเป็นรายข้อ พบว่า 2) ประชาชนที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษาต่างกัน เห็นว่าองค์การบริหาร ส่วนตำบลมีการบริหารตามหลักธรรมาภิบาล โดยรวมและรายด้านทุกด้าน ไม่แตกต่างกัน ส่วนประชาชนที่มีอาชีพต่างกัน เห็นว่าองค์การบริหารส่วนตำบลมีการบริหารตามหลักธรรมาภิบาล ด้านหลักความรับผิดชอบ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) ข้อเสนอแนะของประชาชนเกี่ยวกับการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลปรือใหญ่ ควรมีการเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้บริหารและบุคลากรในหน่วยงานอย่างทั่วถึงและสม่ำเสมอ ควรนำข้อเสนอแนะที่ได้รับจากประชาชนทุกปัญหามาปรับปรุงแก้ไขให้ทันต่อสภาวะที่เกิดขึ้น และเปิดโอกาสให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการหน่วยงานหรือดำเนินโครงการแต่ละโครงการ เพื่อให้เกิดความรู้สึกเป็นเจ้าของชุมชน เกิดความรัก หวงแหนต่อหน่วยงาน
The thesis was to serve the purposes: 1) to study good governance-based administration of Tambon Prue Yai Administrative Organization in Si Sa Ket province’s Khukhan district, 2) to compare its good governance-based administration based on classification of residents’ genders, ages, educational levels and occupations, 3) to examine their suggestions for its good governance-based administration. The sampling groups for conducting the research comprised 381 eligible voters in its constituencies. The research instrument was the five-rating scale questionnaire containing thirty questions, each of which possessed the reliability at .81. Statistics used for data analyses embraced percentage, mean, standard deviation. Another one used for the hypothesis testing results included t-test and F-test (One-Way ANOVA), by making use of the ready-made software package. Results of the research findings: 1) Its good governance-based administration has been rated ‘moderate’ in the overall aspect. Given each of aspects, its target administration of three aspects has been scaled ‘high’ in such descending order of means as participation, values of money and accountability. On the contrary, its target administration of other three aspects has been measured ‘moderate’ in the descending order of means, namely rule of law, morality and transparency. 2) As classified by one single aspect, their genders, ages and educational levels yield no differences in their opinions on its target administration in the overall aspect and a single one; whereas their occupations prove ‘moderate’ with the statistical significance level at .05. 3) Their suggestions for enhancing its target administration are that it should: 3.1) open opportunities to residents to take part in assessing administrators’ and personnel’s work performance in the agency on thorough and regular bases, 3.2) take residents’ suggestions for addressing every problem to keep abreast of ongoing circumstances, 3.3) open opportunities to them participating in managing the agency or carrying out each project so as to make them feel as though they became owners of their communities, thereby prompting affection and cherishing the agency.
หนังสือ

หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้ 1) ศึกษาการบริหารองค์การด้วยหลักธรรมาภิบาล, 2) ศึกษาการบริหารองค์การด้วยหลักธรรมตามแนวทางพระพุทธศาสนา และ 3) วิเคราะห์คุณค่าการบริหารองค์การด้วยหลักธรรมาภิบาลตามแนวทางพระพุทธศาสนา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ได้แก่ พระไตรปิฎก อรรถกถา ตำรา และเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพเอกสาร โดยรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนมกราคม 2560-กันยายน 2560 ข้อมูลที่ได้นำมาวิเคราะห์เนื้อหาและวิเคราะห์แบบสร้างข้อสรุปอุปนัย ผลการวิจัยพบว่า 1) การบริหารตามหลักธรรมาภิบาลเป็นการบริหารที่ว่าด้วยการสร้างระบบการบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี เพื่อส่งเสริมและผลักดันให้ภาครัฐ ภาคธุรกิจ ภาคเอกชน และภาคประชาชนได้ตระหนักถึงบทบาทหน้าที่ในการบริหารกิจการบ้านเมือง และสังคมให้มีประสิทธิภาพตามหลักกฎหมาย โดยอาศัยหลัก 6 ประการ คือ หลักนิติธรรม หลักคุณธรรม หลักความโปร่งใส หลักการมีส่วนร่วม หลักความรับผิดชอบ และหลักความคุ้มค่า มาประยุกต์ใช้ในการบริหารงานของรัฐหรือในองค์การ ทั้งนี้เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดความเสียหายแก่รัฐและองค์การ ซึ่งจะส่งผลให้สังคมดำรงอยู่ร่วมกันอย่างสันติ 2) การบริหารองค์การด้วยหลักธรรมาภิบาลตามแนวทางพระพุทธศาสนา คือ การดำเนินการของผู้บริหารในการนำเอาหลักธรรมที่ปรากฏในทางพระพุทธศาสนา ได้แก่ พรหมวิหาร 4 อิทธิบาท 4 สัปปุริสธรรม 7 สังคหวัตถุ 4 ไปใช้เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ 3) วิเคราะห์คุณค่าการบริหารองค์การด้วยหลักธรรมาภิบาลตามแนวทางพระพุทธศาสนา คือมีคุณค่า ด้านความยุติธรรมในองค์การ ด้านการลดความเหลื่อมล้ำในองค์การ และด้านประสิทธิภาพและประสิทธิผล
วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้ 1) ศึกษาการบริหารองค์การด้วยหลักธรรมาภิบาล, 2) ศึกษาการบริหารองค์การด้วยหลักธรรมตามแนวทางพระพุทธศาสนา และ 3) วิเคราะห์คุณค่าการบริหารองค์การด้วยหลักธรรมาภิบาลตามแนวทางพระพุทธศาสนา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ได้แก่ พระไตรปิฎก อรรถกถา ตำรา และเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพเอกสาร โดยรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนมกราคม 2560-กันยายน 2560 ข้อมูลที่ได้นำมาวิเคราะห์เนื้อหาและวิเคราะห์แบบสร้างข้อสรุปอุปนัย ผลการวิจัยพบว่า 1) การบริหารตามหลักธรรมาภิบาลเป็นการบริหารที่ว่าด้วยการสร้างระบบการบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี เพื่อส่งเสริมและผลักดันให้ภาครัฐ ภาคธุรกิจ ภาคเอกชน และภาคประชาชนได้ตระหนักถึงบทบาทหน้าที่ในการบริหารกิจการบ้านเมือง และสังคมให้มีประสิทธิภาพตามหลักกฎหมาย โดยอาศัยหลัก 6 ประการ คือ หลักนิติธรรม หลักคุณธรรม หลักความโปร่งใส หลักการมีส่วนร่วม หลักความรับผิดชอบ และหลักความคุ้มค่า มาประยุกต์ใช้ในการบริหารงานของรัฐหรือในองค์การ ทั้งนี้เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดความเสียหายแก่รัฐและองค์การ ซึ่งจะส่งผลให้สังคมดำรงอยู่ร่วมกันอย่างสันติ 2) การบริหารองค์การด้วยหลักธรรมาภิบาลตามแนวทางพระพุทธศาสนา คือ การดำเนินการของผู้บริหารในการนำเอาหลักธรรมที่ปรากฏในทางพระพุทธศาสนา ได้แก่ พรหมวิหาร 4 อิทธิบาท 4 สัปปุริสธรรม 7 สังคหวัตถุ 4 ไปใช้เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ 3) วิเคราะห์คุณค่าการบริหารองค์การด้วยหลักธรรมาภิบาลตามแนวทางพระพุทธศาสนา คือมีคุณค่า ด้านความยุติธรรมในองค์การ ด้านการลดความเหลื่อมล้ำในองค์การ และด้านประสิทธิภาพและประสิทธิผล
The objectives of this thesis ware as follows 1) to study the Organization Administration by the Principle of Good Governance, 2) to study the Organization Administration by the Principle of Good Governance according to Buddhist Approach and 3) to analyze the value of the Organization Administration by the Principle of Good Governance according to Buddhist Approach. The sample groups were the Tipitaka Commentaries. Texts and relevant researches. The thesis was the documentary qualitative research works. All the data, collected during January-September 2017, were then analyzed by content analysis and analytic induction. The results of research are found as follows: 1) The Principle of Good Governance for the Organization Administration is the good method for the management of the whole country including public sector, business sector, private sector and people sector to achieve the everyone happiness and well-being by the six principles as follows : (1) the principle of law (2) the principle of virtue (3) the principle of openness and transparency (4) the principle of participation (5) the principle of accountability and (6) the principle of effectiveness. 2) The Organization Administration by the Principle of Good Governance according to Buddhist Approach is the management of the organization following the Buddhist Doctrines to achieve effectively the given objectives including Brahmavihara 4, Iddhipada 4, Sappurisa-dhamma 7, Noble Eightfold Path and Raja-dhamma. 3) The results of the analysis of the values of the Organization Administration by the Principle of Good Governance according to Buddhist Approach are the value of the justice, the value of the reduction of the inequality and the value of the efficiency and effectiveness in the organization.
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 2) เพื่อศึกษาการบริหารจัดการของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 3) เพื่อศึกษาหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 กลุ่มตัวอย่างได้แก่ สถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 จำนวน 56 โรงเรียน โดยมีผู้ให้ข้อมูลประกอบด้วย ผู้อำนวยการสถานศึกษา หัวหน้าฝ่ายงานบริหาร ครูผู้สอน รวมทั้งหมด 280 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับ หลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษา และ การบริหารจัดการ ของสถานศึกษา สำหรับสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสมการถดถอยพหุคูณแบบเป็นขั้นตอน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัยพบว่า : 1. หลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 โดยภาพรวมทั้ง 10 ด้าน มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยเป็นรายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากสูงสุดไปต่ำสุด คือ ด้านหลักนิติธรรม ด้านหลักการมีส่วนร่วม ด้านหลักภาระรับผิดชอบ ด้านหลักความเสมอภาค ด้านหลักประสิทธิผล ด้านหลักการกระจายอำนาจ ด้านมุ่งเน้นฉันทามติ ด้านหลักความโปร่งใส ด้านหลักประสิทธิภาพ และด้านหลักการตอบสนอง ตามลำดับ 2. การบริหารจัดการของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 โดยภาพรวมทั้ง 4 ด้าน มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยเป็นรายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากสูงสุดไปต่ำสุด คือ ด้านบริหารงานทั่วไป ด้านบริหารงานวิชาการ ด้านบริหารงานงบประมาณ และด้านบริหารงานบุคคล ตามลำดับ 3. หลักธรรมาภิบาลของผู้บริหาร ส่งผลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ต่อการบริหารจัดการของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 เรียงตามลำดับความสำคัญ ได้แก่ ด้านความโปร่งใส ด้านหลักการมีส่วนร่วม และด้านนิติธรรม โดยมีค่าสัมประสิทธิ์การทำนายหรืออำนาจพยากรณ์ ได้ร้อยละ 64.00 (R2 = 0.640) สามารถเขียนเป็นรูปสมการพยากรณ์ได้ ดังนี้ สมการคะแนนดิบ = 1.262+ 0.217 (ด้านหลักความโปร่งใส) + 0.258 (ด้านหลักการมีส่วนร่วม) + 0.254 (ด้านหลักนิติธรรม) สมการคะแนนมาตรฐาน = 0.257 (ด้านหลักความโปร่งใส) + 0.307 (ด้านหลักการมีส่วนร่วม) + 0.293 (ด้านหลักนิติธรรม
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 2) เพื่อศึกษาการบริหารจัดการของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 3) เพื่อศึกษาหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 กลุ่มตัวอย่างได้แก่ สถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 จำนวน 56 โรงเรียน โดยมีผู้ให้ข้อมูลประกอบด้วย ผู้อำนวยการสถานศึกษา หัวหน้าฝ่ายงานบริหาร ครูผู้สอน รวมทั้งหมด 280 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับ หลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษา และ การบริหารจัดการ ของสถานศึกษา สำหรับสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสมการถดถอยพหุคูณแบบเป็นขั้นตอน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัยพบว่า : 1. หลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 โดยภาพรวมทั้ง 10 ด้าน มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยเป็นรายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากสูงสุดไปต่ำสุด คือ ด้านหลักนิติธรรม ด้านหลักการมีส่วนร่วม ด้านหลักภาระรับผิดชอบ ด้านหลักความเสมอภาค ด้านหลักประสิทธิผล ด้านหลักการกระจายอำนาจ ด้านมุ่งเน้นฉันทามติ ด้านหลักความโปร่งใส ด้านหลักประสิทธิภาพ และด้านหลักการตอบสนอง ตามลำดับ 2. การบริหารจัดการของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 โดยภาพรวมทั้ง 4 ด้าน มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยเป็นรายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากสูงสุดไปต่ำสุด คือ ด้านบริหารงานทั่วไป ด้านบริหารงานวิชาการ ด้านบริหารงานงบประมาณ และด้านบริหารงานบุคคล ตามลำดับ 3. หลักธรรมาภิบาลของผู้บริหาร ส่งผลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ต่อการบริหารจัดการของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 เรียงตามลำดับความสำคัญ ได้แก่ ด้านความโปร่งใส ด้านหลักการมีส่วนร่วม และด้านนิติธรรม โดยมีค่าสัมประสิทธิ์การทำนายหรืออำนาจพยากรณ์ ได้ร้อยละ 64.00 (R2 = 0.640) สามารถเขียนเป็นรูปสมการพยากรณ์ได้ ดังนี้ สมการคะแนนดิบ = 1.262+ 0.217 (ด้านหลักความโปร่งใส) + 0.258 (ด้านหลักการมีส่วนร่วม) + 0.254 (ด้านหลักนิติธรรม) สมการคะแนนมาตรฐาน = 0.257 (ด้านหลักความโปร่งใส) + 0.307 (ด้านหลักการมีส่วนร่วม) + 0.293 (ด้านหลักนิติธรรม
The objectives of this research were: 1) to study good governance of administrators under Office of Secondary Educational Service Area 1, 2) to study school administration under Office of Secondary Educational Service Area 1, and 3) to study the good governance of administrators affecting school administration under Office of Secondary Educational Service Area 1. The data were collected by questionnaires from 280 samples in 56 schools consisting of school directors, heads of departments, and teachers. The data were analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, and multiple linear regressions in steps. The results of the study were found that: 1. The level of good governance of school administrators under Office of Secondary Educational Service Area 1 was high overall. In each aspect, the highest level started at rule of law, followed by cooperation, responsibility, equality, efficiency, decentralization, agreement, transparency, effectiveness, and responsiveness respectively. 2. The administration of schools under Office of Secondary Educational Service Area 1 was at a high level totally. In details, the highest mean was on general administration, followed by academic administration, budget administration, and personnel administration respectively. 3. The good governance of school administrators affected the administration of schools under Office of Secondary Educational Service Area 1 with a significantly statistical level at 0.01 starting from transparency, responsibility , and rule of law with coefficient or prediction power at 64.00% (R2 = 0.640) and it could be written in predictive patterns as follows; Raw score equation = 1.262+ 0.217(transparency) + 0.258 (responsibility) + 0.254 (rule of law) Standard score equation = 0.257 (transparency) + 0.307 (responsibility) + 0.293 (rule of law
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม.) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม.) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการบริหารกิจการคณะสงฆ์ตามหลักธรรมา ภิบาลของพระสังฆาธิการในเขตอําเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม 2) เพื่อเปรียบเทียบการบริหารกิจ การคณะสงฆ์ตามหลักธรรมาภิบาลของพระสังฆาธิการในเขตอําเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม ที่มี อายุ พรรษา วุฒิการศึกษาต่างกัน 3) เพื่อศึกษาแนวทางการบริหารกิจการคณะสงฆ์ตามหลักธรรมาภิบาลของพระสังฆาธิการในเขตอําเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม การวิจัยครั้งนี้ มีประชากรกลุ่มตัวอย่างที่เป็นพระภิกษุในเขตอำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม จำนวน 236 รูป เครื่องมือที่ใช้วิจัย คือ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (t-test) การทดสอบความแปร ปรวนแบบทางเดียว (F-test or One-way ANOVA) หากพบความแตกต่างทดสอบเป็นรายคู่ด้วยวิธีการของ LSD (Least Significant Difference) ผลการวิจัยพบว่า 1) พระภิกษุกลุ่มตัวอย่าง มีความคิดเห็นต่อการบริหารกิจการคณะสงฆ์ตามหลักธรรมาภิบาลของพระสังฆาธิการในเขตอําเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยมีดังนี้ ด้านการเผยแผ่ตามหลักธรรมาภิบาล ด้านการสาธารณสงเคราะห์ตามหลักธรรมาภิบาล ด้านการศาสนศึกษาตามหลักธรรมาภิบาล ด้านการปกครองตามหลักธรรมาภิบาล ด้านการศึกษาสงเคราะห์ตามหลักธรรมาภิบาล และด้านการสาธารณูปการตามหลักธรรมาภิบาล ตามลำดับ 2) การทดสอบสมมติฐานการวิจัย พบว่า พระภิกษุที่มี พรรษา และวุฒิการศึกษาทางธรรมต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการบริหารกิจการคณะสงฆ์ตามหลักธรรมาภิบาลของพระสังฆาธิการในเขตอําเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม โดยรวมแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนพระภิกษุที่มีระดับ อายุ และวุฒิการศึกษาทางโลก ต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการบริหารกิจการคณะสงฆ์ตามหลักธรรมาภิบาลของพระสังฆาธิการในเขตอําเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม โดยรวมไม่แตกต่างกัน 3) ข้อเสนอแนะแนวทางเกี่ยวกับการบริหารกิจการคณะสงฆ์ตามหลักธรรมาภิบาลของพระสังฆาธิการในเขตอําเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม เห็นว่า งานด้านการปกครองตามหลักธรรมาภิบาลเป็นงานที่ต้องใช้การควบคุม สอดส่องดูแล พระภิกษุ สามเณร รวมถึงศิษย์วัดให้ปฏิบัติตามกรอบพระธรรมวินัย กฏระเบียบมหาเถรสมาคม ส่วนด้านการศึกษาตามหลักธรรมาภิบาล ภาพรวมส่วนใหญ่พระสังฆาธิการมีการส่งเสริม และสนับสนุนการศึกษาพระปริยัติธรรมทั้งแผนกธรรม บาลี แผนกสามัญตามระเบียบของมหาเถรสมาคม ส่วนด้านศึกษาสงเคราะห์ตามหลักธรรมาภิบาลของพระสังฆาธิการในภาพรวมอยู่ในระดับดี โดยเฉพาะการให้การสงเคราะห์ด้านการฝึกอบรมแก่พระภิกษุ สามเณร และการสงเคราะห์เยาวชนให้ได้รับการศึกษาเล่าเรียนในลักษณะของการแจกทุนการศึกษาด้านการเผยแผ่ตามหลักธรรมาภิบาล เป็นการทำงานของคณะสงฆ์โดยรวม ที่เป็นไปเพื่อการเผยแผ่พระธรรมคำสั่งสอนทั้งในวัด นอกวัด ชื่อว่า เป็นภารกิจด้านการเผยแผ่ทั้งสิ้น ส่วนด้านสาธารณูปการตามหลักธรรมาภิบาลเป็นการทำงานลักษณะการบำเพ็ญสาธารณประโยชน์ ทั้งการพัฒนาวัดในด้านวัตถุทุกอย่าง และการบำรุงดูแลรักษาถาวรวัตถุ หรือสาธารณสมบัติของวัด และด้านสาธารณสงเคราะห์ตามหลักธรรมาภิบาล กิจการคณะสงฆ์ด้านนี้ เป็นภารกิจที่วัด หรือพระภิกษุ ดำเนินการช่วยเหลือสังคม
วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการบริหารกิจการคณะสงฆ์ตามหลักธรรมา ภิบาลของพระสังฆาธิการในเขตอําเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม 2) เพื่อเปรียบเทียบการบริหารกิจ การคณะสงฆ์ตามหลักธรรมาภิบาลของพระสังฆาธิการในเขตอําเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม ที่มี อายุ พรรษา วุฒิการศึกษาต่างกัน 3) เพื่อศึกษาแนวทางการบริหารกิจการคณะสงฆ์ตามหลักธรรมาภิบาลของพระสังฆาธิการในเขตอําเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม การวิจัยครั้งนี้ มีประชากรกลุ่มตัวอย่างที่เป็นพระภิกษุในเขตอำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม จำนวน 236 รูป เครื่องมือที่ใช้วิจัย คือ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (t-test) การทดสอบความแปร ปรวนแบบทางเดียว (F-test or One-way ANOVA) หากพบความแตกต่างทดสอบเป็นรายคู่ด้วยวิธีการของ LSD (Least Significant Difference) ผลการวิจัยพบว่า 1) พระภิกษุกลุ่มตัวอย่าง มีความคิดเห็นต่อการบริหารกิจการคณะสงฆ์ตามหลักธรรมาภิบาลของพระสังฆาธิการในเขตอําเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยมีดังนี้ ด้านการเผยแผ่ตามหลักธรรมาภิบาล ด้านการสาธารณสงเคราะห์ตามหลักธรรมาภิบาล ด้านการศาสนศึกษาตามหลักธรรมาภิบาล ด้านการปกครองตามหลักธรรมาภิบาล ด้านการศึกษาสงเคราะห์ตามหลักธรรมาภิบาล และด้านการสาธารณูปการตามหลักธรรมาภิบาล ตามลำดับ 2) การทดสอบสมมติฐานการวิจัย พบว่า พระภิกษุที่มี พรรษา และวุฒิการศึกษาทางธรรมต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการบริหารกิจการคณะสงฆ์ตามหลักธรรมาภิบาลของพระสังฆาธิการในเขตอําเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม โดยรวมแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนพระภิกษุที่มีระดับ อายุ และวุฒิการศึกษาทางโลก ต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการบริหารกิจการคณะสงฆ์ตามหลักธรรมาภิบาลของพระสังฆาธิการในเขตอําเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม โดยรวมไม่แตกต่างกัน 3) ข้อเสนอแนะแนวทางเกี่ยวกับการบริหารกิจการคณะสงฆ์ตามหลักธรรมาภิบาลของพระสังฆาธิการในเขตอําเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม เห็นว่า งานด้านการปกครองตามหลักธรรมาภิบาลเป็นงานที่ต้องใช้การควบคุม สอดส่องดูแล พระภิกษุ สามเณร รวมถึงศิษย์วัดให้ปฏิบัติตามกรอบพระธรรมวินัย กฏระเบียบมหาเถรสมาคม ส่วนด้านการศึกษาตามหลักธรรมาภิบาล ภาพรวมส่วนใหญ่พระสังฆาธิการมีการส่งเสริม และสนับสนุนการศึกษาพระปริยัติธรรมทั้งแผนกธรรม บาลี แผนกสามัญตามระเบียบของมหาเถรสมาคม ส่วนด้านศึกษาสงเคราะห์ตามหลักธรรมาภิบาลของพระสังฆาธิการในภาพรวมอยู่ในระดับดี โดยเฉพาะการให้การสงเคราะห์ด้านการฝึกอบรมแก่พระภิกษุ สามเณร และการสงเคราะห์เยาวชนให้ได้รับการศึกษาเล่าเรียนในลักษณะของการแจกทุนการศึกษาด้านการเผยแผ่ตามหลักธรรมาภิบาล เป็นการทำงานของคณะสงฆ์โดยรวม ที่เป็นไปเพื่อการเผยแผ่พระธรรมคำสั่งสอนทั้งในวัด นอกวัด ชื่อว่า เป็นภารกิจด้านการเผยแผ่ทั้งสิ้น ส่วนด้านสาธารณูปการตามหลักธรรมาภิบาลเป็นการทำงานลักษณะการบำเพ็ญสาธารณประโยชน์ ทั้งการพัฒนาวัดในด้านวัตถุทุกอย่าง และการบำรุงดูแลรักษาถาวรวัตถุ หรือสาธารณสมบัติของวัด และด้านสาธารณสงเคราะห์ตามหลักธรรมาภิบาล กิจการคณะสงฆ์ด้านนี้ เป็นภารกิจที่วัด หรือพระภิกษุ ดำเนินการช่วยเหลือสังคม
และผู้ประสบภัยพิบัติในลักษณะต่าง ๆ ดังนั้นกิจการคณะสงฆ์ทุกด้านต้องใช้คุณธรรมนำการบริหารให้คำปรึกษากับคณะสงฆ์เมื่อเกิดปัญหา จัดประชุมเปิดโอกาสให้พระสังฆาธิการมีส่วนร่วม แต่การทำงานก็ต้องนำหลักของกฎหมาย หลักความโปร่งใส คุ้มค่าตรวจสอบได้
The objectives of the thesis are: 1) to study Sangha’s affairs administration in accordance with good governance of administrative monks in Nakhon Chaisi district of Nakhon Pathom province, 2) to compare Sangha’s affairs administration in accordance with good governance of administrative monks in Nakhon Chaisi district of Nakhon Pathom province based on their different ages, years in monkhood, and educational backgrounds, and 3) to study guidelines of Sangha’s affairs administration in accordance with good governance of administrative monks in Nakhon Chaisi district of Nakhon Pathom province. The data were collected from 236 monks in Nakhon Chaisi district through questionnaires and analyzed by frequency, percentile, mean, standard deviation, t-test, F-test or One-way ANOVA and Least Significant Difference test. (LSD.) The results of research were found that: 1) The opinion of monks on Sangha’s affairs administration in accordance with good governance of administrative monks in Nakhon Chaisi district of Nakhon Pathom province was at a high level overall. The highest level was on Buddhist propagation according to Good Governance, followed by Public Welfare according to Good Governance, Religious study according to Good Governance, Government according to Good Governance, Educational welfare according to Good Governance, and Public Assistance according to Good Governance respectively. 2) The monks with different years in monkhood and Dhamma educational levels had different opinion levels towards Sangha’s affairs administration in accordance with good governance of administrative monks in Nakhon Chaisi district of Nakhon Pathom province with a statistically significant figure at 0.05, but those with different ages and general education levels showed no different opinion level on Sangha’s affairs administration in accordance with good governance of administrative monks in Nakhon Chaisi district of Nakhon Pathom province. 3) Recommendations and suggestions: On the government according to Good Governance, the duty is to administrate, monitor, and take care of monks and novices under the Dhammavinaya and regulations of the Sangha Council. On the education according to Good Governance, the administrative monks support and promote the study of Dhamma, Palia and general education. On Education Welfare according to Good Governance, the administrative monks provide trainings and funds in study for monks, novices and children. On Propagation according to Good Governance, the temple internal and external teachings and trainings of administrative monks are all included in religious propagation. On Public Assistance according to Good Governance, the work and duty cover the development, renovation, restoration and preservation of the temple buildings, properties and objects. And on Public Welfare according to Good Governance, it is the burden of monks and temples to provide assistances to society and victims of disaster. The Sangha’s affairs should be administrated based on virtue, cooperation, laws and regulations that can lead to transparency, worthiness, and accountability.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2550
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2550
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) การจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) การจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,วิทยานิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย,2547
Note: ฉบับอัดสำเนา,วิทยานิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย,2547
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์เรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาทฤษฎีญาณวิทยาในพุทธปรัชญาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาญาณวิทยาที่ปรากฏในคัมภีร์วิสุทธิมรรค 3) เพื่อวิเคราะห์ญาณวิทยาที่ปรากฏในคัมภีร์วิสุทธิมรรค กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ได้แก่ พระไตรปิฎก อรรถกถา คัมภีร์ปกรณ์วิเสสวิสุทธิมรรค ตำราและเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพเอกสาร โดยรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนตุลาคม 2560 - มิถุนายน 2561 ข้อมูลที่ได้นำมาวิเคราะห์เนื้อหาและวิเคราะห์แบบสร้างข้อสรุปอุปนัย ผลการวิจัยพบว่า: ญาณวิทยาที่ปรากฏในคัมภีร์วิสุทธิมรรค ล้วนเป็นสัจนิยม ที่เกี่ยวกับเรื่องความจริงเป็นหลัก และพบว่า บ่อเกิดของความรู้ มี 3 อย่าง คือ สุตะ-การศึกษา เล่าเรียน, จินตะ-การใคร่ครวญพิจารณา, และภาวนา-การทำให้เกิดขึ้น ทำให้มีขึ้นเจริญขึ้น เมื่อวิเคราะห์ญาณวิทยาที่ปรากฏในคัมภีร์วิสุทธิมรรค พบว่า มีอยู่ 4 ทฤษฎี คือ 1) ทฤษฎีเหตุผลนิยม จะใช้เพียงสุตะ การเรียนรู้ด้วย หรือจินตะ ใคร่ครวญ คงไม่อาจทำให้เข้าใจถึงธรรมชาติของจิตได้ 2) ทฤษฎีประจักษนิยม การนำเอาส่วนเดียวในสิกขา 3 ใช้มาเพื่อปฏิบัติถือเป็นทางที่ผิด 3) ทฤษฎีอนุมานนิยม บ่อเกิดของความรู้ 3 อย่าง คือ สุตะ จินตะและภาวนา 3 ส่วนนี้ทำให้ผลสมควรแก่เหตุ การกระทำตามขั้นตอนที่ถูก ผลที่หวังจึงจะสัมฤทธิ์ผล 4) ทฤษฎีอัชฌัตติกญาณนิยม ความรู้ที่เกิดขึ้นภายในใจ ปัจจเวกขณญาณ เป็นญาณลำดับสุดท้ายของแต่ละอริยมรรค หรือญาณ 16 เป็นตัวตรวจสอบความว่าสังโยชน์ข้อใดขาดไปจากจิตสันดาน ยังเหลือกิจที่ยังต้องทำหรือไม่มีกิจอื่นที่ต้องทำ นี้จึงเป็นอัชฌัตติกญาณนิยม คือ ความรู้แจ้งภายใน
วิทยานิพนธ์เรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาทฤษฎีญาณวิทยาในพุทธปรัชญาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาญาณวิทยาที่ปรากฏในคัมภีร์วิสุทธิมรรค 3) เพื่อวิเคราะห์ญาณวิทยาที่ปรากฏในคัมภีร์วิสุทธิมรรค กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ได้แก่ พระไตรปิฎก อรรถกถา คัมภีร์ปกรณ์วิเสสวิสุทธิมรรค ตำราและเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพเอกสาร โดยรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนตุลาคม 2560 - มิถุนายน 2561 ข้อมูลที่ได้นำมาวิเคราะห์เนื้อหาและวิเคราะห์แบบสร้างข้อสรุปอุปนัย ผลการวิจัยพบว่า: ญาณวิทยาที่ปรากฏในคัมภีร์วิสุทธิมรรค ล้วนเป็นสัจนิยม ที่เกี่ยวกับเรื่องความจริงเป็นหลัก และพบว่า บ่อเกิดของความรู้ มี 3 อย่าง คือ สุตะ-การศึกษา เล่าเรียน, จินตะ-การใคร่ครวญพิจารณา, และภาวนา-การทำให้เกิดขึ้น ทำให้มีขึ้นเจริญขึ้น เมื่อวิเคราะห์ญาณวิทยาที่ปรากฏในคัมภีร์วิสุทธิมรรค พบว่า มีอยู่ 4 ทฤษฎี คือ 1) ทฤษฎีเหตุผลนิยม จะใช้เพียงสุตะ การเรียนรู้ด้วย หรือจินตะ ใคร่ครวญ คงไม่อาจทำให้เข้าใจถึงธรรมชาติของจิตได้ 2) ทฤษฎีประจักษนิยม การนำเอาส่วนเดียวในสิกขา 3 ใช้มาเพื่อปฏิบัติถือเป็นทางที่ผิด 3) ทฤษฎีอนุมานนิยม บ่อเกิดของความรู้ 3 อย่าง คือ สุตะ จินตะและภาวนา 3 ส่วนนี้ทำให้ผลสมควรแก่เหตุ การกระทำตามขั้นตอนที่ถูก ผลที่หวังจึงจะสัมฤทธิ์ผล 4) ทฤษฎีอัชฌัตติกญาณนิยม ความรู้ที่เกิดขึ้นภายในใจ ปัจจเวกขณญาณ เป็นญาณลำดับสุดท้ายของแต่ละอริยมรรค หรือญาณ 16 เป็นตัวตรวจสอบความว่าสังโยชน์ข้อใดขาดไปจากจิตสันดาน ยังเหลือกิจที่ยังต้องทำหรือไม่มีกิจอื่นที่ต้องทำ นี้จึงเป็นอัชฌัตติกญาณนิยม คือ ความรู้แจ้งภายใน
The thesis served its specific purposes: 1) to study a theory on epistemology in Theravada Buddhist philosophy, 3) to pursue epistemology in Visuddhi Magga scripture, and 3) to analyze its essences in the scripture. The sampling groups comprised: The Tipitaka, commentaries, the target scripture, treatises and relevant research undertakings. It was derived from the qualitative methodology, the documentary research. Data were collected between October, B.E. 2560 and June, B.E. 2561. With these data, their essences were analyzed and inductive summaries constructed. Results of the research have found the following findings.: Epistemology in Theravada Buddhist philosophy is entire realism. It has found sources of knowledge with three types: 1) Suta, learning/hearing, 2) Cinta, active thoughts, 3) Bhavana, development, to make something happen/prosper. Upon analyzing types in the target scripture, they have found four theories: 1) Rationalism, it uses only learning or hearing (suta) or active thought (cinta); it may not have ones understand the nature of mind. 2) Empiricism, the introduction of one part of threefold trainings into practical uses is regarded as the wrong way. 3) Inductivism, its three sources of knowledge are: i) learning or hearing, ii) active thoughts, and iii) development. These elements make results fit causes. They are right acts. Expected outcomes can be achieved. 4) Internalism, knowledge emerges in mind. Knowledge of reviewing (paccavekkhana-nana) is the last insight of Noble Paths. It is the inspector to find whether or not any fetter is disappeared from the mind. Is there any task done or not done. The knowledge is internalism, internal clear knowledge.
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์เรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการดำเนินชีวิตในพุทธปรัชญาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาสัมมาอาชีวะในมรรคมีองค์ 8 ตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท และ 3) เพื่อวิเคราะห์การดำเนินชีวิตด้วยสัมมาอาชีวะในมรรคมีองค์ 8 ตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท ซึ่งเป็นการวิจัย เชิงคุณภาพ โดยศึกษาจากพระไตรปิฎก อรรถกถา หนังสือ เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง รวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนตุลาคม 2560–มิถุนายน 2561 ผลการวิจัยพบว่า: การดำเนินชีวิตตามหลักสัมมาอาชีวะในทางพระพุทธศาสนา ประกอบด้วย 1) การแสวงหาเลี้ยงชีพในทางที่ชอบทั้งทางกายและทางวาจา ถูกต้องทั้งด้านกฎหมายและศีลธรรม 2) การครอบครองรักษาที่ดี ตามหลักการออมทรัพย์ทางพระพุทธศาสนาหรือหลักโภควิภาค 4 ได้แก่ ทรัพย์หนึ่งส่วน (25 %) ออมไว้ใช้สอยเลี้ยงชีพ ทรัพย์สองส่วน (50 %) ออมไว้ประกอบอาชีพและทรัพย์อีกหนึ่งส่วน (25 %) ออมไว้ในยามจำเป็นและใช้ทำบุญ 3) การบริโภคใช้จ่ายอย่างถูกต้อง เหมาะสมและพอเพียง โดยให้ความสำคัญด้านคุณค่ามากกว่ามูลค่า และเน้นคุณประโยชน์มากกว่าความคุ้มทุน และมีจุดมุ่งหมายเพื่อประโยชน์สุขทั้งแก่ตนเองแก่ผู้อื่นและแก่สังคม สัมมาอาชีวะเป็นหลักการดำเนินชีวิตที่มีคุณค่าทางจริยธรรมต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต ของบุคคลทั้งทางกาย ทางวาจา ทางจิตใจ อีกทั้งเกิดคุณค่าต่อการพัฒนาปัญญาให้รู้จักคิดอย่างมีเหตุผลในการดำเนินชีวิต และยังมีคุณค่าต่อการเกื้อหนุนให้เกิดบุญกิริยามากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ยังมีคุณค่าทางจริยธรรมต่อการเกื้อหนุนและส่งเสริม การพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้อื่น และมีคุณค่าต่อการพัฒนาสังคมส่วนรวมทั้งด้านการปกครอง การเมือง เศรษฐกิจ ตลอดจนเกื้อหนุนการพัฒนาระบบจริยธรรมทางสังคมด้านอื่น ๆ ให้เข้มแข็งและมั่นคง ซึ่งจะนำไปสู่เป้าหมายที่ก่อให้เกิดความสุขมวลรวมของคนในสังคมมากยิ่งขึ้น
วิทยานิพนธ์เรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการดำเนินชีวิตในพุทธปรัชญาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาสัมมาอาชีวะในมรรคมีองค์ 8 ตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท และ 3) เพื่อวิเคราะห์การดำเนินชีวิตด้วยสัมมาอาชีวะในมรรคมีองค์ 8 ตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท ซึ่งเป็นการวิจัย เชิงคุณภาพ โดยศึกษาจากพระไตรปิฎก อรรถกถา หนังสือ เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง รวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนตุลาคม 2560–มิถุนายน 2561 ผลการวิจัยพบว่า: การดำเนินชีวิตตามหลักสัมมาอาชีวะในทางพระพุทธศาสนา ประกอบด้วย 1) การแสวงหาเลี้ยงชีพในทางที่ชอบทั้งทางกายและทางวาจา ถูกต้องทั้งด้านกฎหมายและศีลธรรม 2) การครอบครองรักษาที่ดี ตามหลักการออมทรัพย์ทางพระพุทธศาสนาหรือหลักโภควิภาค 4 ได้แก่ ทรัพย์หนึ่งส่วน (25 %) ออมไว้ใช้สอยเลี้ยงชีพ ทรัพย์สองส่วน (50 %) ออมไว้ประกอบอาชีพและทรัพย์อีกหนึ่งส่วน (25 %) ออมไว้ในยามจำเป็นและใช้ทำบุญ 3) การบริโภคใช้จ่ายอย่างถูกต้อง เหมาะสมและพอเพียง โดยให้ความสำคัญด้านคุณค่ามากกว่ามูลค่า และเน้นคุณประโยชน์มากกว่าความคุ้มทุน และมีจุดมุ่งหมายเพื่อประโยชน์สุขทั้งแก่ตนเองแก่ผู้อื่นและแก่สังคม สัมมาอาชีวะเป็นหลักการดำเนินชีวิตที่มีคุณค่าทางจริยธรรมต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต ของบุคคลทั้งทางกาย ทางวาจา ทางจิตใจ อีกทั้งเกิดคุณค่าต่อการพัฒนาปัญญาให้รู้จักคิดอย่างมีเหตุผลในการดำเนินชีวิต และยังมีคุณค่าต่อการเกื้อหนุนให้เกิดบุญกิริยามากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ยังมีคุณค่าทางจริยธรรมต่อการเกื้อหนุนและส่งเสริม การพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้อื่น และมีคุณค่าต่อการพัฒนาสังคมส่วนรวมทั้งด้านการปกครอง การเมือง เศรษฐกิจ ตลอดจนเกื้อหนุนการพัฒนาระบบจริยธรรมทางสังคมด้านอื่น ๆ ให้เข้มแข็งและมั่นคง ซึ่งจะนำไปสู่เป้าหมายที่ก่อให้เกิดความสุขมวลรวมของคนในสังคมมากยิ่งขึ้น
The thesis served its specific purposes: 1) to study the way of leading one’s life in Theravada philosophy, 2) to examine Right Livelihood in Noble Eightfold Paths following Theravada Buddhist philosophy, and 3) to analyze the way of leading one’s life with Right Livelihood as such. As the documentary research, it was derived from the qualitative methodology. Data were studied out of The Tipitaka, commentaries, books and relevant research undertakings, collected between October B.E. 2560 and June B.E. 2561. Findings are the followings: Ways of leading one’s life following the principle of right livelihood in Buddhism is composed of two aspects. The first aspect is seeking for leading one’s life with physical, verbal, legal and moral decency. Another aspect is good possession and economy spending of incomes following criteria of four good divisions in Buddhism. One portion of incomes is provided for feeding family, accounting for 25 %. Two portions making up 50 % are allocated for doing careers. One portion is kept for saving in the rainy days and making merits. The further aspect is proper and sufficient consumption, placing more importance in true values than face values, putting more emphasis on benefits than cost effectiveness, with the aims for benefits of their own, others’ and society. Analyses of right livelihood have found that it has been treated as the foundation stone of leading one’s life with moral values for developing individual life in physical, verbal and mental channels. It creates values towards developing wisdom to logically think of leading one’s life and making great contribution to accumulating much more merits. In addition, leading one’s life following right livelihood still have moral values for assistance and support of others’ life. All in all, it also has values for developing society in common in governmental, political, economic area, including the support of developing the moral system of society to be strong and stable, which will lead to the target giving rise to the mass happiness of members in the society
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 255
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 255
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2550
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2550
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,วิทยานิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย, 2547
Note: ฉบับอัดสำเนา,วิทยานิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย, 2547
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์1)เพื่อศึกษาบทบาทของสามเณรในพระพุทธศาสนาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาบทบาทของสามเณรในจังหวัดเลย และ 3) เพื่อวิเคราะห์บทบาทของสามเณรในจังหวัดเลย ข้อมูลเอกสาร ได้แก่ พระไตรปิฎก อรรถกถา ตำราเอกสารที่เกี่ยวข้องและการสัมภาษณ์เชิงลึกพระภิกษุ10 รูป สามเณร 10 รูป รวม 20 รูป ข้อมูลนำมาวิเคราะห์เนื้อหาและวิเคราะห์แบบสร้างข้อสรุปอุปนัย สามเณรคือเหล่ากอแห่งสมณะ ในยุคพุทธกาลสามเณรมีบทบาทช่วยรักษาพระศาสนา สืบต่อและเผยแผ่พระธรรมวินัย ปัจจุบันสามเณรมีบทบาทช่วยและปฏิบัติตามสิกขาบท 10 ข้อ พร้อมเสขิยวัตร ธรรมเนียม และกฏหมาย ศึกษาปริยัติธรรมทั้งแผนกธรรม แผนกบาลี และแผนกสามัญศึกษา รวมถึงระดับปริญญา รักษา ปกป้อง เผยแผ่พระพุทธศาสนาด้วย ปัจจัยที่ทำให้เยาวชนในจังหวัดเลยตัดสินใจเข้ามาบรรพชา คือ แรงผลักดันจากผู้ปกครอง การเรียนต่อในระดับที่สูงขึ้น การบวชตามประเพณีการแบ่งเบาภาระของผู้ปกครอง ความยากจน การปลอดภัยจากพิษภัยของยาเสพติด ปัญหาพ่อแม่หย่าร้าง การขาดโอกาสทางการศึกษา การช่วยขัดเกลาพฤติกรรม และบวชตอบแทนพระคุณพ่อแม่ บทบาทของสามเณรในจังหวัดเลย คือ การศึกษาเล่าเรียนการสนองงานครูอาจารย์และคณะสงฆ์ผู้ช่วยพระภิกษุ ทำกิจวัตร เป็นแบบอย่างที่ดีแก่พุทธศาสนิกชนการสืบต่ออายุพระพุทธศาสนา และการเผยแผ่พระพุทธศาสนา วิเคราะห์บทบาทของสามเณรในจังหวัดเลย พบว่า มีบทบาทโดยภาพรวมแล้ว ได้แก่ 1. เพื่อความมั่นคงของพระพุทธศาสนา เมื่อมีความรู้ทั้งแผนกธรรม แผนกบาลี และแผนกสามัญ รวมถึงระดับปริญญาแล้ว ย่อมจะทำให้พระพุทธศาสนามั่นคง แม้จะลาสิกขาออกมาเป็นคฤหัสถ์ก็ได้ทำการรักษาพระพุทธศาสนาในหน้าที่ของตน 2. เพื่อสังคม เช่น การเผยแผ่พระศาสนา ทำหน้าที่เป็นพระภิกษุสืบไป เป็นต้น 3. เพื่อสถาบันสงฆ์ไทย พระสงฆ์ผู้ทำหน้าที่เป็นเจ้าคณะปกครองทุกระดับชั้นล้วนเคยบรรพชามาตั้งแต่เป็นสามเณร จึงเอื้อต่อสถาบันพระพุทธศาสนาต่อไป
วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์1)เพื่อศึกษาบทบาทของสามเณรในพระพุทธศาสนาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาบทบาทของสามเณรในจังหวัดเลย และ 3) เพื่อวิเคราะห์บทบาทของสามเณรในจังหวัดเลย ข้อมูลเอกสาร ได้แก่ พระไตรปิฎก อรรถกถา ตำราเอกสารที่เกี่ยวข้องและการสัมภาษณ์เชิงลึกพระภิกษุ10 รูป สามเณร 10 รูป รวม 20 รูป ข้อมูลนำมาวิเคราะห์เนื้อหาและวิเคราะห์แบบสร้างข้อสรุปอุปนัย สามเณรคือเหล่ากอแห่งสมณะ ในยุคพุทธกาลสามเณรมีบทบาทช่วยรักษาพระศาสนา สืบต่อและเผยแผ่พระธรรมวินัย ปัจจุบันสามเณรมีบทบาทช่วยและปฏิบัติตามสิกขาบท 10 ข้อ พร้อมเสขิยวัตร ธรรมเนียม และกฏหมาย ศึกษาปริยัติธรรมทั้งแผนกธรรม แผนกบาลี และแผนกสามัญศึกษา รวมถึงระดับปริญญา รักษา ปกป้อง เผยแผ่พระพุทธศาสนาด้วย ปัจจัยที่ทำให้เยาวชนในจังหวัดเลยตัดสินใจเข้ามาบรรพชา คือ แรงผลักดันจากผู้ปกครอง การเรียนต่อในระดับที่สูงขึ้น การบวชตามประเพณีการแบ่งเบาภาระของผู้ปกครอง ความยากจน การปลอดภัยจากพิษภัยของยาเสพติด ปัญหาพ่อแม่หย่าร้าง การขาดโอกาสทางการศึกษา การช่วยขัดเกลาพฤติกรรม และบวชตอบแทนพระคุณพ่อแม่ บทบาทของสามเณรในจังหวัดเลย คือ การศึกษาเล่าเรียนการสนองงานครูอาจารย์และคณะสงฆ์ผู้ช่วยพระภิกษุ ทำกิจวัตร เป็นแบบอย่างที่ดีแก่พุทธศาสนิกชนการสืบต่ออายุพระพุทธศาสนา และการเผยแผ่พระพุทธศาสนา วิเคราะห์บทบาทของสามเณรในจังหวัดเลย พบว่า มีบทบาทโดยภาพรวมแล้ว ได้แก่ 1. เพื่อความมั่นคงของพระพุทธศาสนา เมื่อมีความรู้ทั้งแผนกธรรม แผนกบาลี และแผนกสามัญ รวมถึงระดับปริญญาแล้ว ย่อมจะทำให้พระพุทธศาสนามั่นคง แม้จะลาสิกขาออกมาเป็นคฤหัสถ์ก็ได้ทำการรักษาพระพุทธศาสนาในหน้าที่ของตน 2. เพื่อสังคม เช่น การเผยแผ่พระศาสนา ทำหน้าที่เป็นพระภิกษุสืบไป เป็นต้น 3. เพื่อสถาบันสงฆ์ไทย พระสงฆ์ผู้ทำหน้าที่เป็นเจ้าคณะปกครองทุกระดับชั้นล้วนเคยบรรพชามาตั้งแต่เป็นสามเณร จึงเอื้อต่อสถาบันพระพุทธศาสนาต่อไป
The objectives of this thesis are as follows: 1) to study the roles of the novices in the Theravada Buddhism 2) to study the roles of the novices in Loei Province 3) to analyze the roles of the novices in Loei Province. The derived information and data were: Tripitaka commentary, related textbooks, data and in-depth interviews from 10 monks and 10 novices. The total numbers of the interviewees were 20 persons. The derived data was contentedly analyzed and inductive conclusion was structurally formed. The results of research were found that: Novices are clans of the monks. In the Buddhist era, the novices’ roles were to preserve the religion, be successor to religion and propagate the Dharma disciplines. At present, the novices have roles in helping and following the 10 centipede, Se Khiyawat, traditions and laws. They study Pariyati Dharma including Dharma Department, Pali Department and Department of General Education and Bachelor Degree levels. They keep, protect and propagate Buddhism. Factors that the youths in Loei Province decided to ordinate were the motivation from their parents, ordination according to tradition, alleviating the burden of parents, problems of poverty, staying away from drugs, problems of divorced parents, lack of educational opportunities, refining behavior and ordaining to pay grace to parents. The duty of the novices in Loei are: studying, serving their teachers and clergy, being the monks’ assistants, doing the routine, being a good image to the Buddhists, renewing Buddhism and propagating Buddhism. After analyzing the roles of the novice in Loei Province, it was found that when picture their overall roles; their roles are: 1) for the stability of Buddhism, they have knowledge in 3 parts, Dharma, Pali and general education. This also includes the degree’s levels. The knowledge can stable Buddhism. Even when they leave the monkhood and become laymen, they preserve Buddhism in their duty. 2) For social duty such as propagation Buddhism as being monks. 3) For Thai monks Institute, the monks who become primates governing all levels used to be ordained as the novices. Then they contribute to the Buddhist Institute.
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาแนวคิดการปกครองในพุทธปรัชญาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาการปกครองตามหลักอุตมรัฐของเพลโต 3) เพื่อวิเคราะห์แนวคิดการปกครองในพุทธปรัชญาเถรวาทกับการปกครองตามหลักอุตมรัฐของเพลโต ผลการวิจัยพบว่า 1. แนวคิดพุทธปรัชญาการปกครองให้ทัศนะอันเป็นหลักการที่ประกอบด้วย คุณธรรม โดยกำหนดจุดมุ่งหมายไว้เพื่อประโยชน์ เพื่อความสุขของมหาชนตลอดทั้งเทวดา เพื่ออนุเคราะห์ สงเคราะห์โลก และสิ่งแวดล้อม พุทธปรัชญาเถรวาทให้ความสำคัญกับผู้ปกครองที่มีศีลธรรม ผู้ปกครองที่ดีจะต้องประพฤติปฏิบัติและควบคุมพฤติกรรมของตนเองให้เป็นที่ยอมรับของสาธารณะชน 2. การปกครองตามหลักอุตมรัฐของเพลโต ให้ทัศนะว่าการปกครองที่ดีที่สุด คือการบริหารจัดการหรือการปกครองอันเป็นกิจการสาธารณะ (The Republic) เพื่อประโยชน์สุข สันติ สงบ ของผู้ใต้ปกครอง ผู้ปกครองมีใจเป็นธรรม มีความยุติธรรม จากการปกครองโดยราชาผู้เป็นปราชญ์ 3. แนวคิดการปกครองในพุทธปรัชญาเถรวาทกับการปกครองตามหลักอุตมรัฐของเพลโต พบว่า มีลักษณะที่เหมือนกันในหลายแง่มุม คือ 1) มีลักษณะสังคมอุดมคติ 2) มีเป้าหมายทางการเมือง 3) ยึดหลักของประโยชน์สุขให้กับสังคมและคนหมู่มาก 4) สังคมที่ดีงามต้องใช้คุณธรรมและศีลธรรมเป็นรากฐานในการกำหนดคุณค่าสังคม 5) อยู่ภายใต้กฎเกณฑ์ตามธรรมชาติ
วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาแนวคิดการปกครองในพุทธปรัชญาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาการปกครองตามหลักอุตมรัฐของเพลโต 3) เพื่อวิเคราะห์แนวคิดการปกครองในพุทธปรัชญาเถรวาทกับการปกครองตามหลักอุตมรัฐของเพลโต ผลการวิจัยพบว่า 1. แนวคิดพุทธปรัชญาการปกครองให้ทัศนะอันเป็นหลักการที่ประกอบด้วย คุณธรรม โดยกำหนดจุดมุ่งหมายไว้เพื่อประโยชน์ เพื่อความสุขของมหาชนตลอดทั้งเทวดา เพื่ออนุเคราะห์ สงเคราะห์โลก และสิ่งแวดล้อม พุทธปรัชญาเถรวาทให้ความสำคัญกับผู้ปกครองที่มีศีลธรรม ผู้ปกครองที่ดีจะต้องประพฤติปฏิบัติและควบคุมพฤติกรรมของตนเองให้เป็นที่ยอมรับของสาธารณะชน 2. การปกครองตามหลักอุตมรัฐของเพลโต ให้ทัศนะว่าการปกครองที่ดีที่สุด คือการบริหารจัดการหรือการปกครองอันเป็นกิจการสาธารณะ (The Republic) เพื่อประโยชน์สุข สันติ สงบ ของผู้ใต้ปกครอง ผู้ปกครองมีใจเป็นธรรม มีความยุติธรรม จากการปกครองโดยราชาผู้เป็นปราชญ์ 3. แนวคิดการปกครองในพุทธปรัชญาเถรวาทกับการปกครองตามหลักอุตมรัฐของเพลโต พบว่า มีลักษณะที่เหมือนกันในหลายแง่มุม คือ 1) มีลักษณะสังคมอุดมคติ 2) มีเป้าหมายทางการเมือง 3) ยึดหลักของประโยชน์สุขให้กับสังคมและคนหมู่มาก 4) สังคมที่ดีงามต้องใช้คุณธรรมและศีลธรรมเป็นรากฐานในการกำหนดคุณค่าสังคม 5) อยู่ภายใต้กฎเกณฑ์ตามธรรมชาติ
The objectives of this thesis were as follows: 1) to study the concept of ruling in Theravada Buddhist philosophy. 2) to study the philosophy of the state of Plato. 3) to analyze the concepts of ruler ship in Theravada Buddhist philosophy and the state-based philosophy of Plato. The Result of this research were found as follows: 1. The concept of Buddhist philosophy of government has shown the views and practices that are the principles that comprise the rule of law. The purpose is for the happiness of the public. Theravada Buddhist Philosophy Focuses on Moral Guardians Good parents must behave. And control of their own behavior to the acceptance of the public. 2. The Rule of the State of Plato is the management or administration of the state (The Republic) to benefit the peace of the people. to be just to be fair and to be happiness from the philosopher king by the wise. 3. The concept of ruling in Theravada Buddhist philosophy and the philosophy of the state administration of Plato. 1) There is a social ideal. 2) It has a political purpose. 3) It is based on the principle of happiness for society and people. 4) A good society requires. Morality and morality are the foundation of a balanced. 5) Under natural rules.
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาพิธีกรรมในพระพุทธศาสนาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาการสาธยายธรรมในพระพุทธศาสนาเถรวาท และ 3) เพื่อวิเคราะห์พิธีกรรมกับการสาธยายธรรมในพระพุทธศาสนาเถรวาท เอกสารที่ใช้ ได้แก่ พระไตรปิฎก อรรถกถา ตำรา และเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพเอกสาร ข้อมูลที่ได้นำมาวิเคราะห์เนื้อหาและวิเคราะห์แบบสร้างข้อสรุปอุปนัย ผลการวิจัยพบว่า: พิธีกรรมในพระพุทธศาสนาเถรวาท เป็นระเบียบดําเนินการเพื่อความสําเร็จไม่ใช่วิธีกอใหเกิดอํานาจพิเศษดลบันดาลให้สำเร็จตามที่หวังเพียงแต่เป็นสื่อก่อให้เกิดผลด้านกาย วาจา จิต ปัญญา และสังคม มีการกระทำแบบเดี่ยวและแบบกลุ่ม ช่วยรักษาพระธรรมวินัยอีกแนวทางหนึ่ง การสาธยายธรรมเกิดขึ้นตั้งแต่สมัยพุทธกาล เป็นการท่อง การกล่าวธรรม การสวด การทรงพระธรรมวินัย มีลักษณะการเปล่งเสียงออกมาเพื่อประโยชน์ทั้งแก่ตนเองและส่วนรวม เพื่อความตั้งมั่นของพระสัทธรรม เป็นเครื่องให้ถึงวิมุตติ จิตเป็นสมาธิ เป็นพหูสูต ไม่เป็นมลทิน เป็นบริขารของจิต ยินดีในบุญกุศล เพื่อความไม่เบียดเบียนไม่มีเวรไม่มีภัย ละความง่วง ผู้ได้ฟังบรรลุธรรมได้ เป็นผู้อยู่ในธรรม ผู้ฟังธรรมเกิดความเลื่อมใส ย่อมได้รับความสรรเสริญ และเพื่อคุ้มครอง เพื่อรักษา เพื่อความไม่เบียดเบียน เพื่ออยู่สำราญ พิธีกรรมกับการสาธยายธรรมคณะสงฆ์จะทำพิธีกรรมต้องมีการสาธยายธรรมก่อนทั้งสิ้น พิธีกรรมกับคุณค่าการสาธยายธรรมในงานสวดพระอภิธรรม และการสาธยายธรรมก่อให้เกิดพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนา ในงานมงคล เช่น ขึ้นบ้านใหม่ เป็นต้น งานอวมงคล เช่น งานศพ การทำวัตรเช้า-เย็นของพุทธบริษัท เป็นต้น ก่อให้เกิดพิธีกรรมทั้งของพระสงฆ์ เช่น ทำวัตรเช้า-เย็น ส่วนคฤหัสถ์ เช่น สาธยายธรรมข้ามปี เป็นต้น
วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาพิธีกรรมในพระพุทธศาสนาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาการสาธยายธรรมในพระพุทธศาสนาเถรวาท และ 3) เพื่อวิเคราะห์พิธีกรรมกับการสาธยายธรรมในพระพุทธศาสนาเถรวาท เอกสารที่ใช้ ได้แก่ พระไตรปิฎก อรรถกถา ตำรา และเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพเอกสาร ข้อมูลที่ได้นำมาวิเคราะห์เนื้อหาและวิเคราะห์แบบสร้างข้อสรุปอุปนัย ผลการวิจัยพบว่า: พิธีกรรมในพระพุทธศาสนาเถรวาท เป็นระเบียบดําเนินการเพื่อความสําเร็จไม่ใช่วิธีกอใหเกิดอํานาจพิเศษดลบันดาลให้สำเร็จตามที่หวังเพียงแต่เป็นสื่อก่อให้เกิดผลด้านกาย วาจา จิต ปัญญา และสังคม มีการกระทำแบบเดี่ยวและแบบกลุ่ม ช่วยรักษาพระธรรมวินัยอีกแนวทางหนึ่ง การสาธยายธรรมเกิดขึ้นตั้งแต่สมัยพุทธกาล เป็นการท่อง การกล่าวธรรม การสวด การทรงพระธรรมวินัย มีลักษณะการเปล่งเสียงออกมาเพื่อประโยชน์ทั้งแก่ตนเองและส่วนรวม เพื่อความตั้งมั่นของพระสัทธรรม เป็นเครื่องให้ถึงวิมุตติ จิตเป็นสมาธิ เป็นพหูสูต ไม่เป็นมลทิน เป็นบริขารของจิต ยินดีในบุญกุศล เพื่อความไม่เบียดเบียนไม่มีเวรไม่มีภัย ละความง่วง ผู้ได้ฟังบรรลุธรรมได้ เป็นผู้อยู่ในธรรม ผู้ฟังธรรมเกิดความเลื่อมใส ย่อมได้รับความสรรเสริญ และเพื่อคุ้มครอง เพื่อรักษา เพื่อความไม่เบียดเบียน เพื่ออยู่สำราญ พิธีกรรมกับการสาธยายธรรมคณะสงฆ์จะทำพิธีกรรมต้องมีการสาธยายธรรมก่อนทั้งสิ้น พิธีกรรมกับคุณค่าการสาธยายธรรมในงานสวดพระอภิธรรม และการสาธยายธรรมก่อให้เกิดพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนา ในงานมงคล เช่น ขึ้นบ้านใหม่ เป็นต้น งานอวมงคล เช่น งานศพ การทำวัตรเช้า-เย็นของพุทธบริษัท เป็นต้น ก่อให้เกิดพิธีกรรมทั้งของพระสงฆ์ เช่น ทำวัตรเช้า-เย็น ส่วนคฤหัสถ์ เช่น สาธยายธรรมข้ามปี เป็นต้น
The objectives of this thesis are as follows: 1) to study the rituals in Theravada Buddhism 2) to study the Chanting in Theravada Buddhism and 3) to analyze the rituals and the Dharma Chanting in Theravada Buddhism. The used documents are Tripitaka, commentary, textbooks and related researches. This study is a Qualitative research. The derived document and information were analyzed of the contents and the Inductive conclusion forms. The results of research were found that: Rituals in Theravada Buddhism are orderly proceeded in order to achieve certain goals which are not the creation of special power inspiring any successes. They are used as a media to fulfill the better of body, speech, mind, wisdom and society. The actions are for individual or in groups. This is another way to maintain the Dharma discipline. The chanting has begun from the age of the Buddhist era. It is a chanting, telling the Dharma, praying, and reserving of Buddhist discipline. It is an utterance for the benefits of oneself and the public. It is useful for the commitment to the Buddha. It is used as a tool to reach a liberation, meditated mind, be a scholar and have clean mind. It is for non-persecution, no harm, lethargy and attaining the Dharma. The one who listens Dharma will become faithful, receive praise, protection, self-keeping, Protection and live pleasantly. Rituals and Dharma chanting of Thai monks will start from the chanting first. In the funeral, rituals and the value of chanting cause merit and gratitude. chanting is also held in holy activities such as new house cerebration and auspicious events. Even in misfortune events, like a funeral, they play an important part of the events. When the laymen do morning and evening chanting, the monks also do the same. In the New Year days, the laymen chanting the Dharma over the years.
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1. เพื่อศึกษาปรัชญาปฏิรูปนิยม 2. เพื่อศึกษาปรัชญาการศึกษาของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต) 3. เพื่อเปรียบเทียบปรัชญาปฏิรูปนิยมกับปรัชญาการศึกษาของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต) เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพแบบเอกสาร โดยศึกษาจากเอกสารปฐมภูมิและทุติยภูมิ ที่เกี่ยวข้อง ผลการวิจัย พบว่า 1. ปรัชญาปฏิรูปนิยม สรุปว่า ปรัชญาปฏิรูปนิยมมีพื้นฐานมาจากปรัชญาปฏิบัตินิยม ผสมผสานกับปรัชญาพิพัฒนาการแนวคิดที่ ผสมผสานทำให้ปรัชญาปฏิรูปนิยมเน้นการศึกษาเพื่อสังคมเป็นสำคัญ โดยมีปรัชญาว่า ปฏิรูปสังคม เพื่อชีวิตที่ชาญฉลาด สามารถทำให้สิ่งแวดล้อมของตนเองดีขึ้น 2. ปรัชญาการศึกษาของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต) สรุปว่า ปรัชญาการศึกษาของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต) เป็นกระบวนการให้และการรับความรู้ ประสบการณ์ การปรับเปลี่ยนทัศนคติการสร้างจิตสำนึก สามารถดำรงชีวิตในสังคมได้อย่างเหมาะสม โดยมีปรัชญาว่า ชีวิตที่สุขเกษมดีงาม ท่ามกลางธรรมชาติที่สมดุล ในสังคมที่สันติสุข 3. เปรียบเทียบปรัชญาปฏิรูปนิยมกับปรัชญาการศึกษาของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต) สรุปได้ดังนี้ 1) เปรียบเทียบหลักสูตรโดยทั้งสองปรัชญามุ่งเน้นความเป็นเลิศเฉพาะทางในด้านสังคม 2) เปรียบเทียบการบริหารการศึกษามุ่งเน้นพัฒนาครูเพื่อแก้ไขปัญหาร่วมกันของชุมชน 3) เปรียบเทียบบุคลากรทางการศึกษา มุ่งเน้นพัฒนาผู้บริหารเป็นสำคัญ 4) เปรียบเทียบการจัดการสถาบันการศึกษา มุ่งเน้นให้สถาบันเป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน 5) เปรียบเทียบกระบวนการเรียนการสอนและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา มุ่งเน้นการเรียนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางและเน้นการสอนที่สอดคล้องกับสังคม 6) เปรียบเทียบทรัพยากรทางการศึกษา ปรัชญาทั้งสองลัทธิมุ่งเน้นทรัพยากรในการบริหารและทรัพยากรการศึกษาเป็นหลักสำคัญ
วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1. เพื่อศึกษาปรัชญาปฏิรูปนิยม 2. เพื่อศึกษาปรัชญาการศึกษาของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต) 3. เพื่อเปรียบเทียบปรัชญาปฏิรูปนิยมกับปรัชญาการศึกษาของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต) เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพแบบเอกสาร โดยศึกษาจากเอกสารปฐมภูมิและทุติยภูมิ ที่เกี่ยวข้อง ผลการวิจัย พบว่า 1. ปรัชญาปฏิรูปนิยม สรุปว่า ปรัชญาปฏิรูปนิยมมีพื้นฐานมาจากปรัชญาปฏิบัตินิยม ผสมผสานกับปรัชญาพิพัฒนาการแนวคิดที่ ผสมผสานทำให้ปรัชญาปฏิรูปนิยมเน้นการศึกษาเพื่อสังคมเป็นสำคัญ โดยมีปรัชญาว่า ปฏิรูปสังคม เพื่อชีวิตที่ชาญฉลาด สามารถทำให้สิ่งแวดล้อมของตนเองดีขึ้น 2. ปรัชญาการศึกษาของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต) สรุปว่า ปรัชญาการศึกษาของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต) เป็นกระบวนการให้และการรับความรู้ ประสบการณ์ การปรับเปลี่ยนทัศนคติการสร้างจิตสำนึก สามารถดำรงชีวิตในสังคมได้อย่างเหมาะสม โดยมีปรัชญาว่า ชีวิตที่สุขเกษมดีงาม ท่ามกลางธรรมชาติที่สมดุล ในสังคมที่สันติสุข 3. เปรียบเทียบปรัชญาปฏิรูปนิยมกับปรัชญาการศึกษาของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต) สรุปได้ดังนี้ 1) เปรียบเทียบหลักสูตรโดยทั้งสองปรัชญามุ่งเน้นความเป็นเลิศเฉพาะทางในด้านสังคม 2) เปรียบเทียบการบริหารการศึกษามุ่งเน้นพัฒนาครูเพื่อแก้ไขปัญหาร่วมกันของชุมชน 3) เปรียบเทียบบุคลากรทางการศึกษา มุ่งเน้นพัฒนาผู้บริหารเป็นสำคัญ 4) เปรียบเทียบการจัดการสถาบันการศึกษา มุ่งเน้นให้สถาบันเป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน 5) เปรียบเทียบกระบวนการเรียนการสอนและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา มุ่งเน้นการเรียนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางและเน้นการสอนที่สอดคล้องกับสังคม 6) เปรียบเทียบทรัพยากรทางการศึกษา ปรัชญาทั้งสองลัทธิมุ่งเน้นทรัพยากรในการบริหารและทรัพยากรการศึกษาเป็นหลักสำคัญ
The objectives of this thesis were as follows; 1) to study Reconstructionism, 2) to study education philosophy of Somdet PhraPhutthaghosajahn (P.A. Payutto), and 3) to compare Reconstructionism and education philosophy of Somdet PhraPhutthaghosajahn (P.A. Payutto). The data of this documentary qualitative study were collected from the primary and secondary sources concerned. The results of the study found that: 1) The Reconstructionism is originated from the combination of pragmatism and progressivism by placing a focus on education for society. Its slogan is social reform for intellectual life and better environment. 2) The education philosophy of Somdet PhraPhutthaghosajahn (P.A. Payutto) is the process of giving and receiving experiences, attitude adjustment and building awareness in order to live a life in society appropriately. Its slogan is a good and happy life in balanced nature in a peaceful society. 3) It can be concluded from the comparison as follows: (1) In curriculum, both concepts place a focus on a specific excellence in society, (2) In educational administration, both concepts aim to develop teachers for problem solving in communities, (3) In educational personnel, education administrators are specially emphasized, (4) In educational institution management, both concepts accept educational institutes are the learning sources of communities, (5) In teaching and learning process and technology, student-centered learning and learning relevant to social contexts are focused, and (6) In educational resources, both philosophies emphasize administrative resources as well as educational resources.
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษากระบวนการบรรลุธรรมในพุทธปรัชญาเถรวาท 2) เพื่อศึกษากระบวนการบรรลุธรรมของพุทธสาวิกาในพุทธปรัชญาเถรวาท 3) เพื่อวิเคราะห์กระบวนการบรรลุธรรมของพุทธสาวิกาในพุทธปรัชญาเถรวาท วิทยานิพนธ์นี้เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพแบบเอกสาร ซึ่งศึกษาข้อมูลจากพระไตรปิฎก อรรถกถา ตำราและเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ผลการวิจัยพบว่า: 1. กระบวนการบรรลุธรรมในพุทธปรัชญาเถรวาท หมายถึง วิธีการที่ทำให้พระพุทธสาวิกาบรรลุธรรมสำเร็จเป็นพระอรหันต์ ซึ่งกระบวนการบรรลุธรรมนั้นประกอบไปด้วย ลักษณะของการบรรลุธรรม คือลักษณะอาการที่จิตหลุดพ้นจากอาสวกิเลส มี 2 ลักษณะ คือ เจโตวิมุตติ และ ปัญญาวิมุตติ เหตุแห่งการบรรลุธรรมมี 5 ประการคือ 1)การฟังธรรม 2)การแสดงธรรม 3)การสาธยายธรรม 4)การพิจารณาธรรม 5)การภาวนา หลักธรรมที่นำไปสู่การบรรลุธรรม เรียกว่า โพธิปักขิยธรรม 37 ได้ แก่ สติปัฏฐาน 4 สัมมัปปธาน 4 อิทธิบาท 4 อินทรีย์ 5 พละ 5 โพชฌงค์ 7 และมรรคมีองค์ 8 องค์ประกอบและขั้นตอนที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการบรรลุธรรมนั้นประกอบด้วยบุคคลผู้ที่จะบรรลุธรรมจะต้องไม่เป็นอภัพบุคคล 6 ประเภท เป็นผู้มีสติปัญญาสามารถแนะนำได้ หลักธรรมที่ส่งเสริมให้เกิดการบรรลุธรรม คือ หลักสังโยชน์ หลักอริยสัจ 4 และหลักอายตนะ 12 วิธีปฏิบัติเพื่อการบรรลุธรรม มี 3 วิธี คือวิปัสสนาที่มีสมถะนำหน้า สมถะที่มีวิปัสสนานำหน้า และ สมถะที่มีวิปัสสนาควบคู่กันไป ระดับของการบรรลุธรรมแบ่งออกเป็นระดับมรรค ได้ 4 ระดับ คือ 1) โสดาปัตติมรรค 2) สกทาคามีมรรค 3) อนาคามิมรรค 4) อรหัตตมรรค ระดับผลแบ่ง ได้ 4 ระดับ คือ 1) โสดาปัตติผล 2) สกทาคามีผล 3) อนาคามิผล 4) อรหัตตผล ประเภทของพระอรหันต์ 4 ประเภทคือ 1)สุกขวิปัสสโก 2)เตวิชโช 3)ฉฬภิญโญ 4)ปฏิสัมภิทัปปัตโต และผลของการบรรลุธรรม คือคุณวิเศษที่บรรลุ มี วิชชา 3 อภิญญา 6 2. กระบวนการบรรลุธรรมของพุทธสาวิกาในพุทธปรัชญาเถรวาทนี้ได้นำเรื่องราวชีวประวัติของพระพุทธสาวิกาแต่ละท่านมาศึกษาเป็นรายบุคคลมีจำนวน 8 ท่านคือ พระมหาปชาบดีโคตมีเถรี พระภัททากัจจานาเถรี พระรูปนันทาเถรี พระกีสาโคตมีเถรี พระปฏาจาราเถรี พระอุบลวรรณาเถรี พระเขมาเถรี และพระอัฑฒกาสีเถรี ทำให้ทราบว่ากระบวนการบรรลุธรรมของแต่ละท่านแตกต่างกันทั้งนี้ขึ้นอยู่กับจริต สถานะภาพ บุญบารมีที่สร้างสมมา และเรื่องราวชีวิตของแต่ละท่านที่แตกต่างกัน 3.
วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษากระบวนการบรรลุธรรมในพุทธปรัชญาเถรวาท 2) เพื่อศึกษากระบวนการบรรลุธรรมของพุทธสาวิกาในพุทธปรัชญาเถรวาท 3) เพื่อวิเคราะห์กระบวนการบรรลุธรรมของพุทธสาวิกาในพุทธปรัชญาเถรวาท วิทยานิพนธ์นี้เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพแบบเอกสาร ซึ่งศึกษาข้อมูลจากพระไตรปิฎก อรรถกถา ตำราและเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ผลการวิจัยพบว่า: 1. กระบวนการบรรลุธรรมในพุทธปรัชญาเถรวาท หมายถึง วิธีการที่ทำให้พระพุทธสาวิกาบรรลุธรรมสำเร็จเป็นพระอรหันต์ ซึ่งกระบวนการบรรลุธรรมนั้นประกอบไปด้วย ลักษณะของการบรรลุธรรม คือลักษณะอาการที่จิตหลุดพ้นจากอาสวกิเลส มี 2 ลักษณะ คือ เจโตวิมุตติ และ ปัญญาวิมุตติ เหตุแห่งการบรรลุธรรมมี 5 ประการคือ 1)การฟังธรรม 2)การแสดงธรรม 3)การสาธยายธรรม 4)การพิจารณาธรรม 5)การภาวนา หลักธรรมที่นำไปสู่การบรรลุธรรม เรียกว่า โพธิปักขิยธรรม 37 ได้ แก่ สติปัฏฐาน 4 สัมมัปปธาน 4 อิทธิบาท 4 อินทรีย์ 5 พละ 5 โพชฌงค์ 7 และมรรคมีองค์ 8 องค์ประกอบและขั้นตอนที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการบรรลุธรรมนั้นประกอบด้วยบุคคลผู้ที่จะบรรลุธรรมจะต้องไม่เป็นอภัพบุคคล 6 ประเภท เป็นผู้มีสติปัญญาสามารถแนะนำได้ หลักธรรมที่ส่งเสริมให้เกิดการบรรลุธรรม คือ หลักสังโยชน์ หลักอริยสัจ 4 และหลักอายตนะ 12 วิธีปฏิบัติเพื่อการบรรลุธรรม มี 3 วิธี คือวิปัสสนาที่มีสมถะนำหน้า สมถะที่มีวิปัสสนานำหน้า และ สมถะที่มีวิปัสสนาควบคู่กันไป ระดับของการบรรลุธรรมแบ่งออกเป็นระดับมรรค ได้ 4 ระดับ คือ 1) โสดาปัตติมรรค 2) สกทาคามีมรรค 3) อนาคามิมรรค 4) อรหัตตมรรค ระดับผลแบ่ง ได้ 4 ระดับ คือ 1) โสดาปัตติผล 2) สกทาคามีผล 3) อนาคามิผล 4) อรหัตตผล ประเภทของพระอรหันต์ 4 ประเภทคือ 1)สุกขวิปัสสโก 2)เตวิชโช 3)ฉฬภิญโญ 4)ปฏิสัมภิทัปปัตโต และผลของการบรรลุธรรม คือคุณวิเศษที่บรรลุ มี วิชชา 3 อภิญญา 6 2. กระบวนการบรรลุธรรมของพุทธสาวิกาในพุทธปรัชญาเถรวาทนี้ได้นำเรื่องราวชีวประวัติของพระพุทธสาวิกาแต่ละท่านมาศึกษาเป็นรายบุคคลมีจำนวน 8 ท่านคือ พระมหาปชาบดีโคตมีเถรี พระภัททากัจจานาเถรี พระรูปนันทาเถรี พระกีสาโคตมีเถรี พระปฏาจาราเถรี พระอุบลวรรณาเถรี พระเขมาเถรี และพระอัฑฒกาสีเถรี ทำให้ทราบว่ากระบวนการบรรลุธรรมของแต่ละท่านแตกต่างกันทั้งนี้ขึ้นอยู่กับจริต สถานะภาพ บุญบารมีที่สร้างสมมา และเรื่องราวชีวิตของแต่ละท่านที่แตกต่างกัน 3.
วิเคราะห์กระบวนการบรรลุธรรมของพุทธสาวิกาในพุทธปรัชญาเถรวาท ได้นำกระบวนการบรรลุธรรมของพุทธสาวิกาทั้ง 8 ท่านมาศึกษาวิเคราะห์เป็นรายบุคคล พบว่า ถึงแม้ว่ากระบวนการบรรลุธรรมของพระพุทธสาวิกาแต่ละท่านจะแตกต่างกันก็ตาม แต่กระบวนการบรรลุธรรมของทุกท่านก็เป็นไปตามกระบวนการบรรลุธรรมในพุทธปรัชญาเถรวาท มีความเหมือนและแตกต่างกันในบางประเด็นคือ ลักษณะของการบรรลุธรรม และ ระดับของการบรรลุธรรม มีความเหมือนกัน คือ บรรลุเจโตวิมุตติ กับ ปัญญาวิมุตติ และ ความเป็นพระอรหัตตผลประเภท ปฏิสัมภิทัปปัตโต ส่วนที่แตกต่างกันคือ เหตุแห่งการบรรลุธรรม หลักธรรมที่นำไปสู่การบรรลุธรรม หลักธรรมที่ส่งเสริมให้เกิดการบรรลุธรรม วิธีปฏิบัติเพื่อการบรรลุธรรม และผลของการบรรลุธรรม ประโยชน์และคุณค่าของกระบวนการบรรลุธรรมของพุทธสาวิกาในพุทธปรัชญาเถรวาท นอกจากความรู้จากการศึกษาถึงกระบวนการบรรลุธรรมที่ผู้ปฏิบัติสามารถนำไปปฏิบัติและแนะนำแก่ผู้สนใจเพื่อการดับทุกข์พ้นทุกข์แล้ว ยังสามารถนำคุณค่าด้านคุณธรรมที่เป็นแบบอย่างไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิตอย่างมีความสุขได้ เช่น ความอ่อนน้อมถ่อมตน ความซื่อสัตย์ ความมีสติมีปฏิภาณ และความเสมอภาค
The objectives of this thesis were:1) to study the wisdom attainment process in Theravāda Buddhist Philosophy, 2) to study the wisdom attainment process of female disciples in Theravāda Buddhist Philosophy, and 3) to analyze the wisdom attainment process of female disciples in Theravāda Buddhist Philosophy. The data of this qualitative study were collected from the Tipitaka, Commentaries, and the related documents. The results of study were shown as follows: 1. The wisdom attainment process in Theravada Buddhist Philosophy means a method for female disciples attaining the Arahantship. The wisdom attainment process is the liberation of mind from defilements. There are 2 types; deliverance of mind and liberation through wisdom. There are 5 causes for attaining Dhamma: 1) Listening to Dhamma, 2) Teaching Dhamma, 3) Reciting Dhamma, 4) Reflecting Dhamma, and 5) Meditating. The Principles that leads to the attainment of Dhamma are known as The Thirty-seven Qualities Contributing to Enlightenment consisting of The Four Foundations of Mindfulness, The Four Great Efforts, The Four Paths of Accomplishment, The Five Faculties, The Five Powers, The Seven Factors of Enlightenment, and The Nobel Eightfold Path. The elements and procedures related to the attainment process consist of the person who will attain Dhamma must not be 6 types of wrong individuals and they must be wise enough to be taught. The Principles that promote the attainment of the Dhamma are The Ten Fetters, the Four Noble Truths and The Twelve Spheres. There are 3 methods of attaining Dhamma, namely Vipassana meditation led by Samatha meditation, Samatha meditation led by Vipassana meditation, and Samatha meditation in parallel with Vipassana meditation. The level of attainment of the Dhamma can be divided into 4 levels of Paths; 1) The Path of Stream Entrance, 2) The Path of Once Returning, 3) The Path of Never Returning and 4) The Path of Arahatship. The Fruition levels can be divided into 4 levels; 1) The Fruit of Stream Entry, 2) The Fruit of Once Returning, 3) The Fruit of Never Returning, and 4) The Fruit of the Worthy One. There are four types of the Worthy Ones; 1) Bare-insight worker, 2) One with the Threefold Knowledge, 3) One with the Sixfold Super-knowledge knowledge, and 4) One having attained the Analytic Insights. 2. The wisdom attainment process of 8 female disciples; Pajapatigotami, Bhaddhagaccana, Rupananda, Kisagotami, Patacara, Upalavanna, Khema, and Atthakasi, was different depending one each one’s characteristic behavior, status, perfection, and life background. 3. From analyzing of the process of attaining Dhamma of the 8 female disciples, although the process of wisdom attaining of each female disciple was different but it was in accordance with the process of wisdom attaining in Theravada Buddhist Philosophy. There were similarities in characteristics of the wisdom attainment process and the level of wisdom. They all attained deliverance of mind and liberation through wisdom. The dissimilarities were the causes of wisdom attainment, the Dhamma principles leading to the wisdom attainment, the Dhamma principles supporting the wisdom attainment, the practices for wisdom attainment, and the results of wisdom attainment. The benefits and values of the wisdom attainment process of female disciples in Theravada Buddhist philosophy were the knowledge in the process of attaining Dhamma that the practitioners can put into practice and advise those who were interested to follow to reduce and eradicate suffering. The principles of humility, honest, consciousness and equality can be applied in living a life.
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาญาณวิทยาในพุทธปรัชญาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาญาณวิทยาในปรัชญาเต๋า 3) เพื่อเปรียบเทียบญาณวิทยาในพุทธปรัชญาเถรวาทกับญาณวิทยาในปรัชญาเต๋า ได้ศึกษาจากพระไตรปิฎก อรรถกถา ตำรา เอกสารเเละงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเป็นการศึกษาเชิงคุณภาพเเละเอกสาร ผลการวิจัย พบว่า 1. ญาณวิทยาในพุทธปรัชญาเถรวาท สรุปว่า ความรู้ที่อาศัยการฟัง การคิดพิจารณา จนตกผลึกเป็นความเข้าใจที่ถูกต้อง เป็นความรู้ที่สามารถหาเหตุผลได้โดยผ่านการไตร่ตรองหรือวิเคราะห์ มาอย่างดี เป็นความรู้ที่ชัดเจน เเจ่มเเจ้ง ไม่งมงาย โดยสามารถนำไปลงมือพิสูจน์ปฏิบัติให้บรรลุจุดมุ่งหมายสูงสุดคือการหลุดพ้นจากกิเลสอย่างสิ้นเชิง 2. ญาณวิทยาในปรัชญาเต๋า สรุปว่า ความรู้ที่สอดคล้องตามวิถีทางธรรมชาติ เป็นความรู้ ที่ปราศจากการปรุงเเต่งจากตัณหาของมนุษย์ เป็นความรู้ที่อยู่เหนือความคิดเเละการกระทำทั้งปวง ของมนุษย์ ปรัชญาเต๋ายอมรับความรู้ระดับปรมัตถสัจจะด้วยการไม่กระทำสิ่งที่ขัดเเย้งต่อวิถีทางธรรมชาติ ไม่ใช่ความรู้ที่พยายามจะเปลี่ยนเเปลงโลก ควบคุมธรรมชาติ เเต่เป็นความรู้เพื่อความเป็นเอกภาพกับธรรมชาติ 3. เปรียบเทียบญาณวิทยาในพุทธปรัชญาเถรวาทกับญาณวิทยาในปรัชญาเต๋า สรุปว่า พุทธปรัชญาเถรวาทยอมรับความรู้ที่สามารถทำให้หลุดพ้นจากความทุกข์ในสังสารวัฏ หลุดพ้นจากกิเลสโดยสิ้นเชิงด้วยการลงมือภาวนาจนเกิดปัญญารู้เเจ้ง ส่วนปรัชญาเต๋ายอมรับความรู้ที่สามารถทำให้เป็นเอกภาพกับธรรมชาติ คือการปฏิบัติตามหลักการที่สอดคล้องต่อวิถีธรรมชาติโดยปราศจากการกระทำที่ไม่เอื้อต่อวิถีธรรมชาติ
วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาญาณวิทยาในพุทธปรัชญาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาญาณวิทยาในปรัชญาเต๋า 3) เพื่อเปรียบเทียบญาณวิทยาในพุทธปรัชญาเถรวาทกับญาณวิทยาในปรัชญาเต๋า ได้ศึกษาจากพระไตรปิฎก อรรถกถา ตำรา เอกสารเเละงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเป็นการศึกษาเชิงคุณภาพเเละเอกสาร ผลการวิจัย พบว่า 1. ญาณวิทยาในพุทธปรัชญาเถรวาท สรุปว่า ความรู้ที่อาศัยการฟัง การคิดพิจารณา จนตกผลึกเป็นความเข้าใจที่ถูกต้อง เป็นความรู้ที่สามารถหาเหตุผลได้โดยผ่านการไตร่ตรองหรือวิเคราะห์ มาอย่างดี เป็นความรู้ที่ชัดเจน เเจ่มเเจ้ง ไม่งมงาย โดยสามารถนำไปลงมือพิสูจน์ปฏิบัติให้บรรลุจุดมุ่งหมายสูงสุดคือการหลุดพ้นจากกิเลสอย่างสิ้นเชิง 2. ญาณวิทยาในปรัชญาเต๋า สรุปว่า ความรู้ที่สอดคล้องตามวิถีทางธรรมชาติ เป็นความรู้ ที่ปราศจากการปรุงเเต่งจากตัณหาของมนุษย์ เป็นความรู้ที่อยู่เหนือความคิดเเละการกระทำทั้งปวง ของมนุษย์ ปรัชญาเต๋ายอมรับความรู้ระดับปรมัตถสัจจะด้วยการไม่กระทำสิ่งที่ขัดเเย้งต่อวิถีทางธรรมชาติ ไม่ใช่ความรู้ที่พยายามจะเปลี่ยนเเปลงโลก ควบคุมธรรมชาติ เเต่เป็นความรู้เพื่อความเป็นเอกภาพกับธรรมชาติ 3. เปรียบเทียบญาณวิทยาในพุทธปรัชญาเถรวาทกับญาณวิทยาในปรัชญาเต๋า สรุปว่า พุทธปรัชญาเถรวาทยอมรับความรู้ที่สามารถทำให้หลุดพ้นจากความทุกข์ในสังสารวัฏ หลุดพ้นจากกิเลสโดยสิ้นเชิงด้วยการลงมือภาวนาจนเกิดปัญญารู้เเจ้ง ส่วนปรัชญาเต๋ายอมรับความรู้ที่สามารถทำให้เป็นเอกภาพกับธรรมชาติ คือการปฏิบัติตามหลักการที่สอดคล้องต่อวิถีธรรมชาติโดยปราศจากการกระทำที่ไม่เอื้อต่อวิถีธรรมชาติ
The objectives of this thesis are; 1) to study epistemology in Theravada Buddhist Philosophy, 2) to study epistemology in Taoist Philosophy, and 3) to compare epistemology in Theravada Buddhist Philosophy and epistemology in Taoist Philosophy. The data of this documentary qualitative research were collected from the Tipitaka, Commentaries, textbooks and related research works. The result of the research found that: 1. Epistemology in Theravada Buddhist Philosophy means listening-based knowledge through consideration and reflection to understanding. It is a knowledge that can be reasoned through careful reflection or realization without credulity, and it can be proven and implemented for the ultimate goal or totally liberation from desire. 2. Epistemology in the Taoist philosophy means knowledge relevant to the natural path, knowledge without the composition of human desire, and knowledge transcendent all human thoughts and actions. Taoist philosophy accepts knowledge of absolute truth by not violating the natural path. It is the knowledge to change or to control the world, but to be unity with the nature. 3. The comparison of epistemology in Theravada Buddhist philosophy and epistemology in Taoist philosophy can be concluded that Theravada Buddhist philosophy accepts knowledge that can liberate suffering in Samsara, or liberation from all defilements through practice until attaining the realization. The Taoist philosophy accepts the knowledge that can unite with nature by the practice consistent with the natural way without any actions violating to the natural way.
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการพัฒนาคุณภาพชีวิต 2) เพื่อศึกษาอัตถจริยาในพุทธปรัชญาเถรวาทและ 3) เพื่อวิเคราะห์การพัฒนาคุณภาพชีวิตด้วยหลักอัตถจริยาในพุทธปรัชญาเถรวาท เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพแบบเอกสาร ซึ่งศึกษาข้อมูลจากพระไตรปิฎก อรรถกถา ตำราและเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ผลการวิจัยพบว่า 1. การพัฒนาคุณภาพชีวิต เป็นการพัฒนาทางด้านร่างกาย จิตใจและสังคม เพราะคุณภาพชีวิตเริ่มต้นจากการการพัฒนาตนเอง และขวนขวายให้ได้มาด้วยตัวของมนุษย์เอง การพัฒนาทางสังคม เพื่อมุ่งให้เป็นคนที่มีเกียรติ ได้รับการยกย่อง เคารพนับถือการยอมรับความรู้สึกเป็นเจ้าของ และความต้องการ เป็นส่วนหนึ่งของสังคม พัฒนาทางความคิด เพื่อมุ่งให้เป็นคนที่มีความต้องการที่จะรู้และเข้าใจในสิ่งต่าง ๆ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการคิดค้นหา วิธีการป้องกันแก้ไขปัญหาทั้งหลาย เพื่อให้เป็นผู้มีความรู้ ความสามารถและนำไปพัฒนาชีวิตที่มีคุณค่าและพัฒนาตนเองไปสู่เป้าหมายที่พึงปรารถนา 2. อัตถจริยาในพุทธปรัชญาเถรวาท เป็นการอธิบายถึงพฤติกรรมและการดำเนินชีวิตเป็นสิ่งที่แสดงถึงคุณงามความดีรวมทั้งเป็นประโยชน์แก่ผู้อื่น เครื่องประดับตกแต่งชีวิตให้สูงส่งงดงามซึ่งสามารถแสดงออกทางการกระทำคำพูดและการแต่งกาย แม้ว่าบุคคลบางคนอาจจะไม่มีทรัพย์สมบัติภายนอกแต่หากมีความตั้งใจดี ร่วมสร้างสรรค์อุดมการณ์ ที่เต็มเปี่ยมอยู่ภายในก็ถือว่าเป็นผู้ที่มีความมั่งคั่งที่แท้จริงได้ ทั้งยังมุ่งเน้นให้เรียนรู้ถึงธรรมชาติดั้งเดิมที่ดีงามของตนเอง และผู้อื่นควบคู่กันไปกับการเป็นผู้ให้ ไม่มีการเอารัดเอาเปรียบผู้อื่น จึงเป็นการทำให้เกิดความสามัคคีกัน ไม่ชิงดีชิงเด่นกัน เพราะทุกคนมีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ อยู่ร่วมกันอย่างสมานฉันท์ จึงเป็นกระบวนการที่ช่วยให้บุคคลได้ขัดเกลาตนเอง เรียนรู้ภายใน และเกิดปัญญาได้ 3. การพัฒนาคุณภาพชีวิตด้วยหลักอัตถจริยาในพุทธปรัชญาเถรวาท เป็นการพัฒนาที่เป็นประโยชน์ต่อตนเองและเป็นประโยชน์ต่อผู้อื่น ทั้งในด้านศาสนา ขนบธรรมเนียม จารีตประเพณี ความเชื่อ ค่านิยม ซึ่งได้มีการรู้จักพัฒนาตน การทำหน้าที่ของตนให้สมบูรณ์ คือการทำประโยชน์ที่ดีแล้ว ย่อมดำเนินชีวิตอย่างมีคุณภาพ หลักธรรมที่นำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน 1) สัทธาสัมปทา คือ การช่วยเหลือส่งเสริมคนให้มีความเชื่อถือถูกต้อง 2) สีลสัมปทา คือ การช่วยเหลือส่งเสริมคนให้ประพฤติดีงาม 3) จาคสัมปทา คือ การช่วยเหลือส่งเสริมคนให้มีความเสียสละและ 4) ปัญญาสัมปทา คือ การช่วยเหลือส่งเสริมคนให้มีปัญญา ซึ่งเป็นหลักธรรมที่มีจุดมุ่งหมายให้มนุษย์มีชีวิตที่ประเสริฐ และอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข และไม่เบียดเบียนกัน การพัฒนาชีวิตเพื่อการฝึกฝนทั้งทางร่างกาย และจิตใจ ในการอบรมให้ชีวิตมีความเจริญก้าวหน้า ประสบผลสำเร็จในหน้าที่การงาน การศึกษาชีวิตครอบครัว จึงทำให้สังคมดำเนินไปสู่ความสันติสุข
วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการพัฒนาคุณภาพชีวิต 2) เพื่อศึกษาอัตถจริยาในพุทธปรัชญาเถรวาทและ 3) เพื่อวิเคราะห์การพัฒนาคุณภาพชีวิตด้วยหลักอัตถจริยาในพุทธปรัชญาเถรวาท เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพแบบเอกสาร ซึ่งศึกษาข้อมูลจากพระไตรปิฎก อรรถกถา ตำราและเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ผลการวิจัยพบว่า 1. การพัฒนาคุณภาพชีวิต เป็นการพัฒนาทางด้านร่างกาย จิตใจและสังคม เพราะคุณภาพชีวิตเริ่มต้นจากการการพัฒนาตนเอง และขวนขวายให้ได้มาด้วยตัวของมนุษย์เอง การพัฒนาทางสังคม เพื่อมุ่งให้เป็นคนที่มีเกียรติ ได้รับการยกย่อง เคารพนับถือการยอมรับความรู้สึกเป็นเจ้าของ และความต้องการ เป็นส่วนหนึ่งของสังคม พัฒนาทางความคิด เพื่อมุ่งให้เป็นคนที่มีความต้องการที่จะรู้และเข้าใจในสิ่งต่าง ๆ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการคิดค้นหา วิธีการป้องกันแก้ไขปัญหาทั้งหลาย เพื่อให้เป็นผู้มีความรู้ ความสามารถและนำไปพัฒนาชีวิตที่มีคุณค่าและพัฒนาตนเองไปสู่เป้าหมายที่พึงปรารถนา 2. อัตถจริยาในพุทธปรัชญาเถรวาท เป็นการอธิบายถึงพฤติกรรมและการดำเนินชีวิตเป็นสิ่งที่แสดงถึงคุณงามความดีรวมทั้งเป็นประโยชน์แก่ผู้อื่น เครื่องประดับตกแต่งชีวิตให้สูงส่งงดงามซึ่งสามารถแสดงออกทางการกระทำคำพูดและการแต่งกาย แม้ว่าบุคคลบางคนอาจจะไม่มีทรัพย์สมบัติภายนอกแต่หากมีความตั้งใจดี ร่วมสร้างสรรค์อุดมการณ์ ที่เต็มเปี่ยมอยู่ภายในก็ถือว่าเป็นผู้ที่มีความมั่งคั่งที่แท้จริงได้ ทั้งยังมุ่งเน้นให้เรียนรู้ถึงธรรมชาติดั้งเดิมที่ดีงามของตนเอง และผู้อื่นควบคู่กันไปกับการเป็นผู้ให้ ไม่มีการเอารัดเอาเปรียบผู้อื่น จึงเป็นการทำให้เกิดความสามัคคีกัน ไม่ชิงดีชิงเด่นกัน เพราะทุกคนมีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ อยู่ร่วมกันอย่างสมานฉันท์ จึงเป็นกระบวนการที่ช่วยให้บุคคลได้ขัดเกลาตนเอง เรียนรู้ภายใน และเกิดปัญญาได้ 3. การพัฒนาคุณภาพชีวิตด้วยหลักอัตถจริยาในพุทธปรัชญาเถรวาท เป็นการพัฒนาที่เป็นประโยชน์ต่อตนเองและเป็นประโยชน์ต่อผู้อื่น ทั้งในด้านศาสนา ขนบธรรมเนียม จารีตประเพณี ความเชื่อ ค่านิยม ซึ่งได้มีการรู้จักพัฒนาตน การทำหน้าที่ของตนให้สมบูรณ์ คือการทำประโยชน์ที่ดีแล้ว ย่อมดำเนินชีวิตอย่างมีคุณภาพ หลักธรรมที่นำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน 1) สัทธาสัมปทา คือ การช่วยเหลือส่งเสริมคนให้มีความเชื่อถือถูกต้อง 2) สีลสัมปทา คือ การช่วยเหลือส่งเสริมคนให้ประพฤติดีงาม 3) จาคสัมปทา คือ การช่วยเหลือส่งเสริมคนให้มีความเสียสละและ 4) ปัญญาสัมปทา คือ การช่วยเหลือส่งเสริมคนให้มีปัญญา ซึ่งเป็นหลักธรรมที่มีจุดมุ่งหมายให้มนุษย์มีชีวิตที่ประเสริฐ และอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข และไม่เบียดเบียนกัน การพัฒนาชีวิตเพื่อการฝึกฝนทั้งทางร่างกาย และจิตใจ ในการอบรมให้ชีวิตมีความเจริญก้าวหน้า ประสบผลสำเร็จในหน้าที่การงาน การศึกษาชีวิตครอบครัว จึงทำให้สังคมดำเนินไปสู่ความสันติสุข
The objectives of this thesis were; 1) to study development of life quality, 2) to study the principles of Atthacariya in Theravada Buddhist philosophy, and 3) to analyze development of life quality with Atthacariya principles in Theravada Buddhist philosophy. The data of this documentary qualitative study were collected from the Tipitaka, Commentaries, textbooks, documents and research works concerned. The results of the study found that: 1) The development of life quality is physical, mental and social development because the quality of life starts from self-development and struggle for everything by oneself. Social development is to make oneself honor, recognize, be a part of society and respect. The thinking development is to obtain a wish to learn and understand things, to have creative thinking and to find ways for problem solution in order to have ability in life development and push themselves to a desirable goal. 2) The principles of Atthacariya in Theravada Buddhist philosophy explains behaviors and ways of living that reveal goodness and benefits for others. Atthacariya is a decoration of life and it helps raise the life higher through action, speech and clothing. Although some people may not have wealth and property, but they have their internal goodness and ideal. So, they can be called the real wealthy. They emphasize learning themselves and others, and become the givers. Giving creates unity and reconciliation in living together. This is the process for self-refining, self-learning and creating wisdom. 3) The development of life quality with the principles of Atthacariya in Theravada Buddhist philosophy is beneficial to oneself and others. It is also beneficial to religion, tradition, custom, values and beliefs. The four principles of Atthacariya consist of; (1) Saddhasampada, to accomplish with the right faith, (2) Silasampada, to accomplish with good behaviors, (3) Cagasampada, to accomplish with charity and sacrifice, and (4) Pannasampada, to accomplish with wisdom. The aim of these principles is to encourage human beings live in sublime life and live together happily and peacefully. The life quality must be developed physically and mentally in order to achieve the success in education, occupation, family and living a life in society.
หนังสือ

หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ ๑) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำการปกครอง ๒) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำการปกครองตามแนวพุทธศาสนา และ ๓) เพื่อศึกษาวิเคราะห์ประโยชน์และคุณค่าภาวะผู้นำการปกครองที่พึงประสงค์ในยุคโลกาภิวัตน์ตามแนวพุทธศาสนา งานวิจัยฉบับนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ซึ่งเน้นการวิจัยทางเอกสาร โดยศึกษาจากพระไตรปิฎกและจากเอกสารที่เกี่ยวข้อง ผลการวิจัยพบว่า ๑) ภาวะผู้นำการปกครอง ผู้นำที่ดีต้องมีความตื่นตัว มีความสามารถในการตัดสินใจรวดเร็วและถูกต้อง มีความสามารถในการจูงใจคน มีความรับผิดชอบและมีความฉลาดรอบรู้ทันโลกทันเหตุการณ์และมีความสามารถในการแก้ปัญหาให้สำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี มีความสามารถในการตัดสินใจ มีเหตุผลฟังความคิดเห็นของผู้อื่น ส่งเสริมให้ผู้ใต้บังคับบัญชาก้าวหน้ามีความยุติธรรม มีความสามารถในการจูงใจผู้อื่นได้ดี มีความสามารถในการคัดเลือกและพัฒนาผู้ใต้บังคับบัญชา สร้างความสามัคคี มีความเห็นอกเห็นใจผู้อื่น มีความซื่อสัตย์ สุจริตใจ ๒) ภาวะผู้นำการปกครองตามแนวพุทธศาสนา ควรเป็นผู้มีความรู้ทั้งทางธรรม และทางโลก เพื่อสร้างศรัทธาที่ดีให้เกิดแก่ผู้ใต้บังคับบัญชา เป็นสัญลักษณ์แบบอย่างที่ดีขององค์กร ผู้นำจึงควรเข้าใจหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาที่เกี่ยวกับผู้นำ เพื่อประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสมกับองค์กรหรือสังคมที่ตนนำหรือปกครองอยู่ ธรรมจึงเป็นเครื่องเสริมสร้างคุณสมบัติของผู้นำให้มี วุฒิภาวะสูง ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญในการบริหารจัดการและดำเนินกิจกรรมขององค์กรให้สำเร็จลุล่วงตามเป้าหมายด้วยดี ด้วยเหตุนี้ผู้นำต้องเป็นผู้รู้จักบทบาทและหน้าที่ของตนที่ต้องรับผิดชอบ และรู้จักวิธีการสร้างแรงบันดาลใจให้บุคลากรดำเนินกิจกรรมขององค์กร หน่วยงานหรือสังคม ตลอดจนถึงประเทศชาติให้บรรลุวัตถุประสงค์ เพื่อนำองค์กรไปสู่ความเจริญรุ่งเรืองได้อย่างมั่นคงต่อไป ๓) จากการศึกษาวิเคราะห์ภาวะผู้นำการปกครองที่พึงประสงค์ในยุคโลกาภิวัตน์ตามแนวพุทธศาสนา สรุปได้ว่าผู้นำที่สมบูรณ์แบบในด้านคุณธรรม จริยธรรม มีความมุ่งหวังให้เกิดประโยชน์สุขแก่ปวงชนหรือหมู่คณะ ไม่เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตนหรือพวกพ้อง เป็นผู้นำที่มีคุณภาพ มีศักยภาพทั้งด้านความรู้ความสามารถ และคุณภาพด้านจิตใจก็มีคุณธรรม จริยธรรม เป็นหลักปฏิบัติในการ ควบคุม และพัฒนาอารมณ์ให้มีความฉลาดทางอารมณ์มากยิ่งขึ้น เป็นที่ยอมรับ นับถือ ศรัทธาของคนทั่วไป ตามกฎระเบียบแบบแผนและขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงาม และสามารถนำพาองค์กรไปสู่ความสงบสุข ความก้าวหน้าตามเป้าหมายที่วางไว้ในยุคโลกาภิวัตน์
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ ๑) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำการปกครอง ๒) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำการปกครองตามแนวพุทธศาสนา และ ๓) เพื่อศึกษาวิเคราะห์ประโยชน์และคุณค่าภาวะผู้นำการปกครองที่พึงประสงค์ในยุคโลกาภิวัตน์ตามแนวพุทธศาสนา งานวิจัยฉบับนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ซึ่งเน้นการวิจัยทางเอกสาร โดยศึกษาจากพระไตรปิฎกและจากเอกสารที่เกี่ยวข้อง ผลการวิจัยพบว่า ๑) ภาวะผู้นำการปกครอง ผู้นำที่ดีต้องมีความตื่นตัว มีความสามารถในการตัดสินใจรวดเร็วและถูกต้อง มีความสามารถในการจูงใจคน มีความรับผิดชอบและมีความฉลาดรอบรู้ทันโลกทันเหตุการณ์และมีความสามารถในการแก้ปัญหาให้สำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี มีความสามารถในการตัดสินใจ มีเหตุผลฟังความคิดเห็นของผู้อื่น ส่งเสริมให้ผู้ใต้บังคับบัญชาก้าวหน้ามีความยุติธรรม มีความสามารถในการจูงใจผู้อื่นได้ดี มีความสามารถในการคัดเลือกและพัฒนาผู้ใต้บังคับบัญชา สร้างความสามัคคี มีความเห็นอกเห็นใจผู้อื่น มีความซื่อสัตย์ สุจริตใจ ๒) ภาวะผู้นำการปกครองตามแนวพุทธศาสนา ควรเป็นผู้มีความรู้ทั้งทางธรรม และทางโลก เพื่อสร้างศรัทธาที่ดีให้เกิดแก่ผู้ใต้บังคับบัญชา เป็นสัญลักษณ์แบบอย่างที่ดีขององค์กร ผู้นำจึงควรเข้าใจหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาที่เกี่ยวกับผู้นำ เพื่อประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสมกับองค์กรหรือสังคมที่ตนนำหรือปกครองอยู่ ธรรมจึงเป็นเครื่องเสริมสร้างคุณสมบัติของผู้นำให้มี วุฒิภาวะสูง ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญในการบริหารจัดการและดำเนินกิจกรรมขององค์กรให้สำเร็จลุล่วงตามเป้าหมายด้วยดี ด้วยเหตุนี้ผู้นำต้องเป็นผู้รู้จักบทบาทและหน้าที่ของตนที่ต้องรับผิดชอบ และรู้จักวิธีการสร้างแรงบันดาลใจให้บุคลากรดำเนินกิจกรรมขององค์กร หน่วยงานหรือสังคม ตลอดจนถึงประเทศชาติให้บรรลุวัตถุประสงค์ เพื่อนำองค์กรไปสู่ความเจริญรุ่งเรืองได้อย่างมั่นคงต่อไป ๓) จากการศึกษาวิเคราะห์ภาวะผู้นำการปกครองที่พึงประสงค์ในยุคโลกาภิวัตน์ตามแนวพุทธศาสนา สรุปได้ว่าผู้นำที่สมบูรณ์แบบในด้านคุณธรรม จริยธรรม มีความมุ่งหวังให้เกิดประโยชน์สุขแก่ปวงชนหรือหมู่คณะ ไม่เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตนหรือพวกพ้อง เป็นผู้นำที่มีคุณภาพ มีศักยภาพทั้งด้านความรู้ความสามารถ และคุณภาพด้านจิตใจก็มีคุณธรรม จริยธรรม เป็นหลักปฏิบัติในการ ควบคุม และพัฒนาอารมณ์ให้มีความฉลาดทางอารมณ์มากยิ่งขึ้น เป็นที่ยอมรับ นับถือ ศรัทธาของคนทั่วไป ตามกฎระเบียบแบบแผนและขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงาม และสามารถนำพาองค์กรไปสู่ความสงบสุข ความก้าวหน้าตามเป้าหมายที่วางไว้ในยุคโลกาภิวัตน์
The objectives of this research were as follows; 1) to study the government leadership, 2) to study the government leadership according to Buddhism, and 3) to analyze benefits and values of the desirable government leadership in globalization according to the Buddhist approach. This research was a qualitative research collecting the data from the Tipitaka and related documents. The results of the research were found that: 1) In the government leadership, a good leader must consist of alertness, quick and right decision, motivation, responsibility, up-to-date knowledge, problem solution, decision making ability, open-mind, support the subordinates, selection and development, unity building, hospitality, honesty, and sincerity. 2) The government leadership in Buddhism should consist of both monastic and secular knowledge in order to build trust to the subordinates and to be a good model of the organization. The leaders should understand Buddhist principles concerning the leaders and leadership for the application to their organizations or society appropriately. Dhamma is the tool to support and improve quality of leadership, which are the important factors in administration and management of organization to achievement. The leaders have to understand their role and duty, and at the same time, have to know how to motivate and convince the organization members to bring the organizations to sustainable prosperity and achievement. 3) The study analysis can be concluded that the leaders, who accomplish with virtues and ethics and work for the advantages of people and public without any hidden agenda, are qualified, potential, acceptable, and respectful. They can lead the organizations to the target progress and peacefulness in the globalization.
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาหลักการเผยแผ่ธรรมของพระพุทธศาสนาเถรวาท 2) เพื่อศึกษารูปแบบการเผยแผ่ธรรมของพระปุณณมันตานีบุตรเถระ และ 3) ศึกษาวิเคราะห์รูปแบบการเผยแผ่ธรรมของพระปุณณมันตานีบุตรเถระ เอกสารที่ใช้ ได้แก่ พระไตรปิฎก อรรถกถา ตำรา และเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพเอกสาร ข้อมูลที่ได้นำมาวิเคราะห์เนื้อหาและวิเคราะห์แบบสร้างข้อสรุปนิรนัย ผลการวิจัยพบว่า : หลักการเผยแผ่ธรรมของพระพุทธศาสนาเถรวาท ประกอบด้วยหลักการ 3 คือ ละชั่ว ทำดี ทำให้ใจให้ผ่องใส อุดมการณ์ 4 คือ อดทนอดกลั้น ไม่เบียดเบียน สงบสันติ และนิพพาน วิธีการ 6 คือ ไม่กล่าวร้าย ไม่ทำร้าย สำรวมระวังในศีล รู้ประมาณในการบริโภคอาหาร อยู่ในสถานที่อันสงบ และชำระจิตให้มีคุณภาพ หลักการ 3 อุดมการณ์ 4 วิธีการ 6 นี้ เป็นสาระสำคัญอันยิ่งยวดของหลักการเผยแผ่พุทธศาสนา เพราะเป็นหลักการที่ปรากฏชัดเจนในพระไตรปิฎกซึ่งถือเป็นท่าทีอันเป็นรูปแบบของการเผยแผ่พุทธศาสนาเถรวาท หลักการเผยแผ่ธรรมของพระปุณณมันตานีบุตรเถระ ใช้หลักกถาวัตถุ 10 คือ เป็นผู้มักน้อย มีปกติสันโดษ ชอบสถานที่สงัดวิเวก ไม่คลุกคลีด้วยหมู่ ปรารภความเพียร สมบูรณ์ด้วยศีล สมาธิ ปัญญา วิมุตติ วิมุตติญาณทัสสนะ ทั้ง 10 นี้ เป็นหลักคำสอนและหลักปฏิบัติของพระปุณณมันตานีบุตรที่สอนศิษย์ในสำนัก 500 รูป เป็นรูปแบบการสอนที่ให้ศิษย์ในสำนึกถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัด ด้วยหลักการสอนอย่างไรปฏิบัติอย่างนั้น ปฏิบัติอย่างไรก็สอนอย่างนั้น เป็นความสมบูรณ์พร้อมแห่งความรู้และความประพฤติที่เรียกว่า วิชชาจรณสัมปันโน รูปแบบการเผยแผ่ธรรมของพระปุณณะมันตานีบุตรเถระ คือ เป็นผู้มีปัญญาแตกฉานในอรรถภาพ สารัตถภาพ นิรุตติภาพ ปฏิภาณภาพ ด้วยวิธีการอธิบายให้เห็นชัดเจน จูงใจให้เห็นจริง ชวนให้ยอมรับและปฏิบัติ เร้าใจให้แกล้วกล้าอุตสาหะ ชโลมใจให้แช่มชื่นไม่เบื่อและเปี่ยมด้วยความหวัง ด้วยรูปแบบ การแสดงธรรม (ธรรมเทศนา) ด้วยการถามตอบปัญหา (ธัมมฉากัจฉา) ด้วยการอบรมสั่งสอน (โอวาท) ด้วยการกล่าวคาถา (คาถา)
วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาหลักการเผยแผ่ธรรมของพระพุทธศาสนาเถรวาท 2) เพื่อศึกษารูปแบบการเผยแผ่ธรรมของพระปุณณมันตานีบุตรเถระ และ 3) ศึกษาวิเคราะห์รูปแบบการเผยแผ่ธรรมของพระปุณณมันตานีบุตรเถระ เอกสารที่ใช้ ได้แก่ พระไตรปิฎก อรรถกถา ตำรา และเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพเอกสาร ข้อมูลที่ได้นำมาวิเคราะห์เนื้อหาและวิเคราะห์แบบสร้างข้อสรุปนิรนัย ผลการวิจัยพบว่า : หลักการเผยแผ่ธรรมของพระพุทธศาสนาเถรวาท ประกอบด้วยหลักการ 3 คือ ละชั่ว ทำดี ทำให้ใจให้ผ่องใส อุดมการณ์ 4 คือ อดทนอดกลั้น ไม่เบียดเบียน สงบสันติ และนิพพาน วิธีการ 6 คือ ไม่กล่าวร้าย ไม่ทำร้าย สำรวมระวังในศีล รู้ประมาณในการบริโภคอาหาร อยู่ในสถานที่อันสงบ และชำระจิตให้มีคุณภาพ หลักการ 3 อุดมการณ์ 4 วิธีการ 6 นี้ เป็นสาระสำคัญอันยิ่งยวดของหลักการเผยแผ่พุทธศาสนา เพราะเป็นหลักการที่ปรากฏชัดเจนในพระไตรปิฎกซึ่งถือเป็นท่าทีอันเป็นรูปแบบของการเผยแผ่พุทธศาสนาเถรวาท หลักการเผยแผ่ธรรมของพระปุณณมันตานีบุตรเถระ ใช้หลักกถาวัตถุ 10 คือ เป็นผู้มักน้อย มีปกติสันโดษ ชอบสถานที่สงัดวิเวก ไม่คลุกคลีด้วยหมู่ ปรารภความเพียร สมบูรณ์ด้วยศีล สมาธิ ปัญญา วิมุตติ วิมุตติญาณทัสสนะ ทั้ง 10 นี้ เป็นหลักคำสอนและหลักปฏิบัติของพระปุณณมันตานีบุตรที่สอนศิษย์ในสำนัก 500 รูป เป็นรูปแบบการสอนที่ให้ศิษย์ในสำนึกถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัด ด้วยหลักการสอนอย่างไรปฏิบัติอย่างนั้น ปฏิบัติอย่างไรก็สอนอย่างนั้น เป็นความสมบูรณ์พร้อมแห่งความรู้และความประพฤติที่เรียกว่า วิชชาจรณสัมปันโน รูปแบบการเผยแผ่ธรรมของพระปุณณะมันตานีบุตรเถระ คือ เป็นผู้มีปัญญาแตกฉานในอรรถภาพ สารัตถภาพ นิรุตติภาพ ปฏิภาณภาพ ด้วยวิธีการอธิบายให้เห็นชัดเจน จูงใจให้เห็นจริง ชวนให้ยอมรับและปฏิบัติ เร้าใจให้แกล้วกล้าอุตสาหะ ชโลมใจให้แช่มชื่นไม่เบื่อและเปี่ยมด้วยความหวัง ด้วยรูปแบบ การแสดงธรรม (ธรรมเทศนา) ด้วยการถามตอบปัญหา (ธัมมฉากัจฉา) ด้วยการอบรมสั่งสอน (โอวาท) ด้วยการกล่าวคาถา (คาถา)
The objectives of this thesis are as follows: 1) to study the principles of Dharma propagation of Theravada Buddhism 2) to study the propagation of Dharma of Phra Punnamantaniputta Thera and 3) Study and analyze the propagation of the Dharma of Phra Punnamantaniputta Thera. The researcher collected and studied from Tripitaka, commentary, textbooks and related researches, and analyzed the contents by the Deductive form. The results of research were found that: Principles of Dharma propagation of Theravada Buddhism consisting of Principle 3 is Evil, Do Good, Make your heart shine. Ideology 4 is tolerance, tolerance, non-persecution, peace and nirvana Method 6 is not to say badly, not to hurt, to be careful in the precepts. Know about food consumption in a peaceful place and pay attention to quality. Principle 3, ideology 4, method 6, this is a great essence of Buddhism propagation principles because it is the principle that appears clearly in the Tripitaka, which is considered as a form of propagation of Theravada Buddhism. Principles of Dharma propagation of Phra Punnamantaniputta Use the principle of the 10 objects, which are usually small, normal, solitary, like being quiet, not being confused with the group. Foreword, perseverance, complete with canon, meditation, wit, liberation, liberation perception, Tuscany these 10 teachings and practices How to teach How to teach it. All 10 of these are the doctrines and practices of Phra Punnamantaniputta. Who teaches 500 disciple. Is a form of teaching that gives disciples in a strict sense of practice with the principle of teaching how to do that How to teach it Is the perfection of knowledge and behavior called The propagation of Dharma of Phra Punnamantaniputta is a master of wisdom. On the issue, In essence, In language, In wisdom With clear explanations Convince the truth Persuade to accept and practice Inspiring to be brave Feeling cheerful, not bored and full of hope. With a form of Dhamma (sermon) with questions and answers (Dhamma conversation) with training (obedience) with a spells (spells)
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาวิชาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาวิชาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสนาและปรัชญา-มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2546
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสนาและปรัชญา-มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2546
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2550
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2550
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1.เพื่อศึกษาหลักมิจฉาทิฏฐิในพุทธปรัชญาเถรวาท 2. เพื่อศึกษามิจฉาทิฏฐิกบุคคลตามแนวพุทธปรัชญาเถรวาท 3. เพื่อศึกษาวิเคราะห์มิจฉาทิฏฐิกบุคคลตามแนวพุทธปรัชญาเถรวาท เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพแบบเอกสาร ผลการศึกษาพบว่า: 1.มิจฉาทิฏฐิ ในพุทธศาสนา หมายถึง การยึดถือผิด คือความงมงายด้วยการยึดถือผิดว่า นั่นของเรา นั่นเป็นเรา นั่นเป็นตัวตนของเรา ความเห็นว่า ทานที่ให้แล้วไม่มีผล การบูชาไม่มีผลการบวงสรวงไม่มีผล ผลวิบากแห่งกรรมที่ทำดีทำชั่วไม่มี โลกนี้ไม่มี โลกอื่นไม่มี บิดาไม่มี มารดาไม่มี สัตว์ที่จุติและอุปบัติไม่มี สมณพราหมณ์ผู้ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบไม่มีในโลก สมณพราหมณ์ที่ทำให้แจ้งซึ่งโลกนี้และโลกอื่นด้วยปัญญาอันยิ่งเองแล้วประกาศให้ผู้อื่นรู้ได้ไม่มีในโลก 2.มิจฉาทิฏฐิกบุคคล ตามแนวพุทธปรัชญาเถรวาท หมายถึงผู้เห็นผิดจากทำนองคลองธรรม อันเป็นเหตุก่อให้เกิดความเสียหายก่อนที่จะบรรลุธรรมเป็นพระอริยบุคคลโดยพิจารณาจากประวัติภูมิหลังและลักษณะอุปนิสัยส่วนบุคคลของพุทธสาวก มี 4 ประเภท คือ1) มิจฉาทิฏฐิกบุคคล ประเภทอัตตกิลมถานุโยค 2) มิจฉาทิฏฐิกบุคคล ประเภทกามสุขัลลิกานุโยค 3) มิจฉาทิฏฐิกบุคคล ประเภทสัสสตทิฏฐิ และ 4) มิจฉาทิฏฐิกบุคคล ประเภทอุจเฉททิฏฐิ 3.มิจฉาทิฏฐิกบุคคลตามแนวพุทธปรัชญาเถรวาท สามารถนำมาวิเคราะห์ได้ดังนี้ 1)เหตุปัจจัยที่ทำให้เกิดมิจฉาทิฏฐิกบุคคล คือ ปัจจัยภายใน ได้แก่ ความยึดมั่น กำหนัดพอใจในขันธ์ 5 ความยึดถือในอายตนะภายใน อวิชชา สัญญา วิตก อโยนิโสมนสิการ และปัจจัยภายนอก ได้แก่ อายตนะภายนอก การคบมิตรชั่วหรือปรโตโฆสะ ซึ่งเกิดจากความเชื่อโดยขาดการพิจารณาไตร่ตรองด้วยหลักโยนิโสมนสิการ 2)ผลของการเป็นมิจฉาทิฏฐิกบุคคล คือย่อมทำให้เกิดการประพฤติปฏิบัติผิดทางซึ่งไม่เป็นไปตามหลักการในทางพระพุทธศาสนาดำเนินตามทางสุดโต่ง 2 ทางนั้นเรียกว่า “อันตา” ได้แก่ ( 1 ) กามสุขัลลิกานุโยค และ ( 2 ) อัตตกิลมถานุโยค 3) หลักคำสอนที่ใช้เพิกถอนมิจฉาทิฏฐิกบุคคล ทั้ง 4 ประเภทมีดังนี้ คือ1) มิจฉาทิฏฐิกบุคคลประเภทอัตตกิลมถานุโยค ได้แก่ มัชฌิมาปฏิปทา อนัตตลักขณสูตร โมเนยยปฏิปทา 2) มิจฉาทิฏฐิบุคคลประเภทกามสุขัลลิกานุโยค ได้แก่ อนุปุพพิกถา อสุภกัมมัฏฐาน ธุดงค์ อัปปมาทธรรม 3) มิจฉาทิฏฐิกบุคคลประเภทประเภทสัสสตทิฏฐิ ได้แก่ ไตรลักษณ์ อนุปาทาน ตจปัญจกกรรมฐาน และ 4) มิจฉาทิฏฐิกบุคคลประเภทอุจเฉททิฏฐิ ได้แก่ อาทิตตปริยายสูตร ปฏิจจสมุปบาท และโยนิโสมนสิการ
วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1.เพื่อศึกษาหลักมิจฉาทิฏฐิในพุทธปรัชญาเถรวาท 2. เพื่อศึกษามิจฉาทิฏฐิกบุคคลตามแนวพุทธปรัชญาเถรวาท 3. เพื่อศึกษาวิเคราะห์มิจฉาทิฏฐิกบุคคลตามแนวพุทธปรัชญาเถรวาท เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพแบบเอกสาร ผลการศึกษาพบว่า: 1.มิจฉาทิฏฐิ ในพุทธศาสนา หมายถึง การยึดถือผิด คือความงมงายด้วยการยึดถือผิดว่า นั่นของเรา นั่นเป็นเรา นั่นเป็นตัวตนของเรา ความเห็นว่า ทานที่ให้แล้วไม่มีผล การบูชาไม่มีผลการบวงสรวงไม่มีผล ผลวิบากแห่งกรรมที่ทำดีทำชั่วไม่มี โลกนี้ไม่มี โลกอื่นไม่มี บิดาไม่มี มารดาไม่มี สัตว์ที่จุติและอุปบัติไม่มี สมณพราหมณ์ผู้ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบไม่มีในโลก สมณพราหมณ์ที่ทำให้แจ้งซึ่งโลกนี้และโลกอื่นด้วยปัญญาอันยิ่งเองแล้วประกาศให้ผู้อื่นรู้ได้ไม่มีในโลก 2.มิจฉาทิฏฐิกบุคคล ตามแนวพุทธปรัชญาเถรวาท หมายถึงผู้เห็นผิดจากทำนองคลองธรรม อันเป็นเหตุก่อให้เกิดความเสียหายก่อนที่จะบรรลุธรรมเป็นพระอริยบุคคลโดยพิจารณาจากประวัติภูมิหลังและลักษณะอุปนิสัยส่วนบุคคลของพุทธสาวก มี 4 ประเภท คือ1) มิจฉาทิฏฐิกบุคคล ประเภทอัตตกิลมถานุโยค 2) มิจฉาทิฏฐิกบุคคล ประเภทกามสุขัลลิกานุโยค 3) มิจฉาทิฏฐิกบุคคล ประเภทสัสสตทิฏฐิ และ 4) มิจฉาทิฏฐิกบุคคล ประเภทอุจเฉททิฏฐิ 3.มิจฉาทิฏฐิกบุคคลตามแนวพุทธปรัชญาเถรวาท สามารถนำมาวิเคราะห์ได้ดังนี้ 1)เหตุปัจจัยที่ทำให้เกิดมิจฉาทิฏฐิกบุคคล คือ ปัจจัยภายใน ได้แก่ ความยึดมั่น กำหนัดพอใจในขันธ์ 5 ความยึดถือในอายตนะภายใน อวิชชา สัญญา วิตก อโยนิโสมนสิการ และปัจจัยภายนอก ได้แก่ อายตนะภายนอก การคบมิตรชั่วหรือปรโตโฆสะ ซึ่งเกิดจากความเชื่อโดยขาดการพิจารณาไตร่ตรองด้วยหลักโยนิโสมนสิการ 2)ผลของการเป็นมิจฉาทิฏฐิกบุคคล คือย่อมทำให้เกิดการประพฤติปฏิบัติผิดทางซึ่งไม่เป็นไปตามหลักการในทางพระพุทธศาสนาดำเนินตามทางสุดโต่ง 2 ทางนั้นเรียกว่า “อันตา” ได้แก่ ( 1 ) กามสุขัลลิกานุโยค และ ( 2 ) อัตตกิลมถานุโยค 3) หลักคำสอนที่ใช้เพิกถอนมิจฉาทิฏฐิกบุคคล ทั้ง 4 ประเภทมีดังนี้ คือ1) มิจฉาทิฏฐิกบุคคลประเภทอัตตกิลมถานุโยค ได้แก่ มัชฌิมาปฏิปทา อนัตตลักขณสูตร โมเนยยปฏิปทา 2) มิจฉาทิฏฐิบุคคลประเภทกามสุขัลลิกานุโยค ได้แก่ อนุปุพพิกถา อสุภกัมมัฏฐาน ธุดงค์ อัปปมาทธรรม 3) มิจฉาทิฏฐิกบุคคลประเภทประเภทสัสสตทิฏฐิ ได้แก่ ไตรลักษณ์ อนุปาทาน ตจปัญจกกรรมฐาน และ 4) มิจฉาทิฏฐิกบุคคลประเภทอุจเฉททิฏฐิ ได้แก่ อาทิตตปริยายสูตร ปฏิจจสมุปบาท และโยนิโสมนสิการ
This thesis has the objectives as follows: 1) to study the principles of wrong view in Theravada Buddhist Philosophy, 2) to study the wrong view individuals according to Theravada Buddhist Philosophy, 3) to analyze the wrong view individuals according to Theravada Buddhist Philosophy. The study is a documentary qualitative research. The results of the study indicated that: 1. The wrong view in Buddhism means to adhere with a wrong view or with ignorance that it is me, mine and myself. Furthermore, it is believed that giving is fruitless, worship is fruitless, sacrifice is fruitless, there are no results of action, there is no this world, there is next world, there is father, there is mother, there are no beings who were dead and born, there are no recluses and Brahmans who have a good practice, there are no recluses and Brahmans who obtained the realization with their wisdom and then revealed it to the others. 2. The wrong view individuals in Theravada Buddhists philosophy mean the individuals having their views different from or other than the righteousness and their views can deflect the attainment to the noblemanship. There are 4 types of the wrong view individuals depending their backgrounds and characteristics; 1) Individuals with self-mortification, 2) Individuals with self-indulgence, 3) Individuals with belief in eternalism, and 4) Individuals with belief in annihilation. 3. The wrong view individuals in Theravada Buddhist philosophy can be analyzed as follows: 1) The causes that make individuals have the wrong view are both internal and external. The internal causes consist of attachment at the Five Aggregates, attachment to internal sense, ignorance, contact, memory, worry and uncritical reflection. The external causes consist of external sense, accompany with false friends or Paratoghosa causing belief and consideration without critical reflection. 2) The results of being the wrong view individuals can cause the wrong practice from the principles of Buddhism to 2 extreme practices called “anta’; (1) Self-indulgence, and (2) Self-mortification. 3) The Buddhist principles that can withdraw the wrong view of each group are that; 1) Majjhimapatipada, Anattalakkhana Sutta, and Moneyapatipada are for the wrong view individuals with self-mortification, 2) Anupubbikatha, Asubhakammatthana, and Appamada Dhamma are for the wrong view individuals with self-indulgence, 3) The Three Common Characteristics, Anupandana, and Tacapanca Kammatthana are for the wrong view individuals with eternalism, and 4) Adittatapariyaya Sutta, Paticcasamuppada, and Yonosomanasokara are for the wrong view individuals with annihilation.
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการเผยแผ่พระพุทธศาสนาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระโสภณวิสุทธิคุณ (บุญเพ็ง กปฺปโก) 3) เพื่อวิเคราะห์หลักการเผยแผ่พระ พุทธศาสนาของพระโสภณวิสุทธิคุณ (บุญเพ็ง กปฺปโก) โดยศึกษาจากพระไตรปิฎก อรรถกถา ตำรา เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้องและการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) คือ บรรพชิต 10 รูป ฆราวาส 10 คน (รวม 20 รูป/คน) นำข้อมูลที่ได้มาเรียบเรียง จัดหมวดหมู่ วิเคราะห์เนื้อหาตามลำดับ ผลการวิจัยพบว่า : การเผยแผ่พระสัทธรรมของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เริ่มแรกพระพุทธองค์ทรงเผยแผ่หลักธรรมคำสอนด้วยพระองค์เอง ต่อจากนั้น การเผยแผ่พระพุทธศาสนาโดยพระสาวกดำเนินเรื่อยมาจวบจนปัจจุบัน โดยมีหลักคำสอนที่สำคัญในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา คือ หลักโอวาทปาติโมกข์ หลักประโยชน์ 3 หลักไตรสิกขา ปฏิจจสมุปบาท เพื่อให้มนุษย์และสัตว์ทั้งหลายดำรงชีวิตอยู่ด้วยความไม่เบียดเบียนกันทั้งตนเองและผู้อื่น โดยพระพุทธองค์ทรงคำนึงถึงประโยชน์ที่พุทธศาสนิกชนจะได้รับเป็นหลักสำคัญที่สุดในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา พุทธวิธีที่พระองค์ทรงสอนนั้นทรงเลือกใช้พุทธวิธีการสอนให้เหมาะสมกับบุคคลสถานที่กาลและกุศโลบายวิธี เพื่อให้ผู้ที่พระองค์ทรงสอนเกิดสติปัญญาแก้ไขปัญหา สามารถนำพาชีวิตประสบความสงบสุขหลุดพ้นจากความทุกข์ดำเนินสู่มรรคผล คือ พระนิพพาน หลักการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระโสภณวิสุทธิคุณ (บุญเพ็ง กปฺปโก) คือ มีวิธีการเผยแผ่พระพุทธศาสนาที่ชัดเจนที่สุด คือ การแสดงธรรมเทศนา เพื่ออธิบายเรื่องการนั่งสมาธิภาวนา เรื่องอิทธิปาฏิหาริย์มีกุศโลบายในการสอนโดยสอดแทรกธรรมะผ่านวัตถุมงคลเรื่องคาถาต่างๆ เป้าหมายของการอบรมภาวนา คือ สอนวิธีทำใจให้สงบ ท่านไม่ได้สอนอะไรมากมายเพียงแต่สอนคนให้ภาวนาได้เท่านั้น ศาสนาพุทธเป็นศาสนาของใจการภาวนา คือ การพัฒนาจิตใจต้องให้ใจสงบก่อนจึงจะก้าวสู่วิปัสสนาได้สมถะเป็นเหตุวิปัสสนาเป็นผล ท่านสอนให้เดินจิตให้ชำนาญให้คล่องตัวเกิดความชำนิชำนาญในการเข้าการออก เพื่อเป็นฐานของวิปัสสนาการพิจารณาค้นหาใจตนเองให้พบก่อนเป็นการค้นไปในจิตหากิเลส อาสวะที่หมักดองอยู่ และชำระสะสางออกไปจากจิตใจ ในท้ายที่สุดแล้ว ท่านจะบรรยายอธิบายเรื่องทั้งหมดผ่านการแสดงธรรมตามวิธีสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผลจากการวิเคราะห์รูปแบบการเผยแผ่ของพรโสภณวิสุทธิคุณ (บุญเพ็ง กปฺปโก) คือ ไตรสิกขา อันหมายถึง การฝึกพฤติกรรมฝึกจิตใจและฝึกปัญญาผ่านรูปแบบการเจริญภาวนาด้วยทาน ศีล ภาวนา จนเกิดปัญญาโดยมีแนวทางที่เป็นสายกลาง คือ อริยมรรค มีจุดมุ่งหมายสูงสุด คือ พระนิพพาน ท่านได้แสดงให้เห็นว่า ท่านเป็นแบบอย่างที่ดียิ่งที่สร้างศรัทธาให้พุทธบริษัท และพุทธศาสนิกชนให้มั่นคงในพระพุทธศาสนาด้วยรูปแบบการเผยแผ่ดังกล่าวและกุศโลบายต่างๆ นั้นเพื่อให้ได้เข้าถึงความดีงามตามหลักคำสอนของพระพุทธศาสนา ทั้งที่แสดงให้เห็นเป็นประจักษ์ด้วยตาคือ ผลงานด้านถาวรวัตถุ ทั้งที่แสดงให้เห็นด้วยใจ คือ แรงพลังศรัทธาที่พุทธศาสนิกชนเข้าได้เข้ารับการอบรมสมาธิภาวนา มีทั้งแสดงให้เห็นด้วยปัญญา คือ หลักธรรมคำสอนที่มีจุดมุ่งหมายสูงสุดอันจะก่อเกิดความเป็นอิสระจากทุกข์ทั้งปวง กล่าวคือมรรคผลนิพพาน
วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการเผยแผ่พระพุทธศาสนาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระโสภณวิสุทธิคุณ (บุญเพ็ง กปฺปโก) 3) เพื่อวิเคราะห์หลักการเผยแผ่พระ พุทธศาสนาของพระโสภณวิสุทธิคุณ (บุญเพ็ง กปฺปโก) โดยศึกษาจากพระไตรปิฎก อรรถกถา ตำรา เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้องและการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) คือ บรรพชิต 10 รูป ฆราวาส 10 คน (รวม 20 รูป/คน) นำข้อมูลที่ได้มาเรียบเรียง จัดหมวดหมู่ วิเคราะห์เนื้อหาตามลำดับ ผลการวิจัยพบว่า : การเผยแผ่พระสัทธรรมของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เริ่มแรกพระพุทธองค์ทรงเผยแผ่หลักธรรมคำสอนด้วยพระองค์เอง ต่อจากนั้น การเผยแผ่พระพุทธศาสนาโดยพระสาวกดำเนินเรื่อยมาจวบจนปัจจุบัน โดยมีหลักคำสอนที่สำคัญในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา คือ หลักโอวาทปาติโมกข์ หลักประโยชน์ 3 หลักไตรสิกขา ปฏิจจสมุปบาท เพื่อให้มนุษย์และสัตว์ทั้งหลายดำรงชีวิตอยู่ด้วยความไม่เบียดเบียนกันทั้งตนเองและผู้อื่น โดยพระพุทธองค์ทรงคำนึงถึงประโยชน์ที่พุทธศาสนิกชนจะได้รับเป็นหลักสำคัญที่สุดในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา พุทธวิธีที่พระองค์ทรงสอนนั้นทรงเลือกใช้พุทธวิธีการสอนให้เหมาะสมกับบุคคลสถานที่กาลและกุศโลบายวิธี เพื่อให้ผู้ที่พระองค์ทรงสอนเกิดสติปัญญาแก้ไขปัญหา สามารถนำพาชีวิตประสบความสงบสุขหลุดพ้นจากความทุกข์ดำเนินสู่มรรคผล คือ พระนิพพาน หลักการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระโสภณวิสุทธิคุณ (บุญเพ็ง กปฺปโก) คือ มีวิธีการเผยแผ่พระพุทธศาสนาที่ชัดเจนที่สุด คือ การแสดงธรรมเทศนา เพื่ออธิบายเรื่องการนั่งสมาธิภาวนา เรื่องอิทธิปาฏิหาริย์มีกุศโลบายในการสอนโดยสอดแทรกธรรมะผ่านวัตถุมงคลเรื่องคาถาต่างๆ เป้าหมายของการอบรมภาวนา คือ สอนวิธีทำใจให้สงบ ท่านไม่ได้สอนอะไรมากมายเพียงแต่สอนคนให้ภาวนาได้เท่านั้น ศาสนาพุทธเป็นศาสนาของใจการภาวนา คือ การพัฒนาจิตใจต้องให้ใจสงบก่อนจึงจะก้าวสู่วิปัสสนาได้สมถะเป็นเหตุวิปัสสนาเป็นผล ท่านสอนให้เดินจิตให้ชำนาญให้คล่องตัวเกิดความชำนิชำนาญในการเข้าการออก เพื่อเป็นฐานของวิปัสสนาการพิจารณาค้นหาใจตนเองให้พบก่อนเป็นการค้นไปในจิตหากิเลส อาสวะที่หมักดองอยู่ และชำระสะสางออกไปจากจิตใจ ในท้ายที่สุดแล้ว ท่านจะบรรยายอธิบายเรื่องทั้งหมดผ่านการแสดงธรรมตามวิธีสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผลจากการวิเคราะห์รูปแบบการเผยแผ่ของพรโสภณวิสุทธิคุณ (บุญเพ็ง กปฺปโก) คือ ไตรสิกขา อันหมายถึง การฝึกพฤติกรรมฝึกจิตใจและฝึกปัญญาผ่านรูปแบบการเจริญภาวนาด้วยทาน ศีล ภาวนา จนเกิดปัญญาโดยมีแนวทางที่เป็นสายกลาง คือ อริยมรรค มีจุดมุ่งหมายสูงสุด คือ พระนิพพาน ท่านได้แสดงให้เห็นว่า ท่านเป็นแบบอย่างที่ดียิ่งที่สร้างศรัทธาให้พุทธบริษัท และพุทธศาสนิกชนให้มั่นคงในพระพุทธศาสนาด้วยรูปแบบการเผยแผ่ดังกล่าวและกุศโลบายต่างๆ นั้นเพื่อให้ได้เข้าถึงความดีงามตามหลักคำสอนของพระพุทธศาสนา ทั้งที่แสดงให้เห็นเป็นประจักษ์ด้วยตาคือ ผลงานด้านถาวรวัตถุ ทั้งที่แสดงให้เห็นด้วยใจ คือ แรงพลังศรัทธาที่พุทธศาสนิกชนเข้าได้เข้ารับการอบรมสมาธิภาวนา มีทั้งแสดงให้เห็นด้วยปัญญา คือ หลักธรรมคำสอนที่มีจุดมุ่งหมายสูงสุดอันจะก่อเกิดความเป็นอิสระจากทุกข์ทั้งปวง กล่าวคือมรรคผลนิพพาน
ตามหลักการเผยแผ่พระพุทธศาสนาเพื่อสร้างประโยชน์ที่เกิดกับสังคมและหมู่คณะสงฆ์ในจังหวัดขอนแก่นอีกด้วย
This research had the objectives to study; 1) Theravada Buddhist propagation, 2) the propagation of Phrasophonvisutdhikhun (Bunpheng Kappako), and 3) to analyze the propagation principles of Phrasophonvisutdhikhun (Bunpheng Kappako). The researcher collected and studied from text books and related documents including in-depth interview from 10 Buddhist monks and 10 Buddhist laymen. The results were as follows: In the preliminary of Buddhist propagation, the Buddha went to teach and propagate by himself. When he had the disciples, he allowed them to teach and propagated Buddhism till now. The core of Buddhist propagation is Ovada Patimokkha, The Principle of Advantage, Threefold Training, and the Principle of Dependent Origination to cease from all evil, to do what is good, and to purify the mind. The Buddha and his disciples had proper methods to teach the people with the goal to leave from suffering and to reach enlightenment. For Phrasophonvisutdhikhun (Bunpheng Kappako), he applied the Buddha’ methods to teach the people with four principle; transparency, motivation, brave, and happiness. He described, discussed, and answered Buddhist principles. The principles that he used to teach were Dhana, Sila, Panya because there were the factors of Anapanasati. Also, it was the way to resolve the problems that brought the happiness and calm. For the analytical of Phrasophonvisutdhikhun’s propagation and teaching, he applied the Principles of Threefold Training, the Eightfold Path to teach the people to reach enlightenment. He acted as the model for the people to strongly believe in Buddhism by builds, Buddhist estates and meditation. He practiced following the Buddha’s teaching for the benefit of the people to relief suffering and reach enlightenment and for the benefit of the Sangha in Khonkaen province.