Search results

2,120 results in 0.04s

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย, 2548
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย, 2548
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,วิทยานิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2551
ฉบับอัดสำเนา,วิทยานิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2551
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) พุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) พุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) เพื่อศึกษาการบริหารแบบมีส่วนร่วมของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 1 2) เพื่อศึกษาคุณภาพผู้เรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 1 และ 3) เพื่อศึกษาการบริหารแบบมีส่วนร่วมของผู้บริหารโรงเรียนที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียนในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 1 กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 97 โรงเรียน ผู้ให้ข้อมูลทั้งหมด 291 คน ประกอบด้วย ผู้อำนวยการโรงเรียน/รองผู้อำนวยการโรงเรียน ครูผู้สอน และครู ที่ทำหน้าที่คณะกรรมการสถานศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการวิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐาน ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ โดยใช้วิธีวิเคราะห์สมการถดถอยแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า 1) การบริหารแบบมีส่วนร่วมของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 1 โดยภาพรวม พบว่า อยู่ในระดับมาก โดยการจัดอันดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านการมีส่วนร่วมในการปฏิบัติ ด้านการมีส่วนร่วมประเมินผล ด้านการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ และด้านการมีส่วนร่วมรับผลประโยชน์ ตามลำดับ 2) คุณภาพผู้เรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 1 โดยภาพรวม พบว่า อยู่ในระดับมาก โดยการจัดอันดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านผู้เรียนมีทักษะชีวิต ด้านผู้เรียนเป็นคนดี ด้านผู้เรียนมีความสามารถในการคิด และด้านผู้เรียนมีความรู้ความสามารถตามหลักสูตร ตามลำดับ 3) การบริหารแบบมีส่วนร่วมของผู้บริหารโรงเรียนส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียนในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 1 ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 เรียงตามลำดับความสำคัญ ได้แก่ ด้านการมีส่วนร่วมประเมินผล ด้านการมีส่วนร่วม รับผลประโยชน์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ 0.758 (R = 0.758) ซึ่งตัวแปรทั้งสองร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของการบริหารแบบมีส่วนร่วมของผู้บริหารโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 1 ได้ร้อยละ 57.5 (R^2= 0.575) สามารถเขียนแสดงความสัมพันธ์ในรูปสมการพยากรณ์ได้ ดังนี้ สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบ (Y) Y= 1.463 + 0.351 (x4) + 0.270 (x3) (R^2= 0.575) สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน (Zy) Zy= 0.432 (x4) + 0.369 (x3) (R^2= 0.575)
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) เพื่อศึกษาการบริหารแบบมีส่วนร่วมของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 1 2) เพื่อศึกษาคุณภาพผู้เรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 1 และ 3) เพื่อศึกษาการบริหารแบบมีส่วนร่วมของผู้บริหารโรงเรียนที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียนในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 1 กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 97 โรงเรียน ผู้ให้ข้อมูลทั้งหมด 291 คน ประกอบด้วย ผู้อำนวยการโรงเรียน/รองผู้อำนวยการโรงเรียน ครูผู้สอน และครู ที่ทำหน้าที่คณะกรรมการสถานศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการวิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐาน ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ โดยใช้วิธีวิเคราะห์สมการถดถอยแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า 1) การบริหารแบบมีส่วนร่วมของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 1 โดยภาพรวม พบว่า อยู่ในระดับมาก โดยการจัดอันดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านการมีส่วนร่วมในการปฏิบัติ ด้านการมีส่วนร่วมประเมินผล ด้านการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ และด้านการมีส่วนร่วมรับผลประโยชน์ ตามลำดับ 2) คุณภาพผู้เรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 1 โดยภาพรวม พบว่า อยู่ในระดับมาก โดยการจัดอันดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านผู้เรียนมีทักษะชีวิต ด้านผู้เรียนเป็นคนดี ด้านผู้เรียนมีความสามารถในการคิด และด้านผู้เรียนมีความรู้ความสามารถตามหลักสูตร ตามลำดับ 3) การบริหารแบบมีส่วนร่วมของผู้บริหารโรงเรียนส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียนในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 1 ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 เรียงตามลำดับความสำคัญ ได้แก่ ด้านการมีส่วนร่วมประเมินผล ด้านการมีส่วนร่วม รับผลประโยชน์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ 0.758 (R = 0.758) ซึ่งตัวแปรทั้งสองร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของการบริหารแบบมีส่วนร่วมของผู้บริหารโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 1 ได้ร้อยละ 57.5 (R^2= 0.575) สามารถเขียนแสดงความสัมพันธ์ในรูปสมการพยากรณ์ได้ ดังนี้ สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบ (Y) Y= 1.463 + 0.351 (x4) + 0.270 (x3) (R^2= 0.575) สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน (Zy) Zy= 0.432 (x4) + 0.369 (x3) (R^2= 0.575)
The objectives of the study were : 1) to study the participatory administration of the schools administrators under the Surat Thani primary educational service area office 1, 2) to study the quality of Learners under the Surat Thani primary educational service area office 1 and, 3) to study the participatory administration affecting the quality of learners in schools under the Surat Thani primary educational service area office 1.A sample was collected from 291 informants from 97 schools including director, deputy director, and teachers who work at the committee of schools. The instrument used in this study was questionnaires. The statistics used in the analysis are frequency, percentage, mean, standard deviation, correlation coefficient, and Multiple Linear Regression by Stepwise Regression. The results of the research ware as follows: 1) The participatory management of the schools administrators under the Surat Thani primary educational service area office 1 was at a high level in overall. The ranging by the average from high to low that the participation in performance, participation in evaluation, participation in decision-making and participation in benefit respectively. 2) The quality of Learners under the Surat Thani primary educational service area office 1 was at a high level in overall. The ranging by the average from high to low that the learner has life skills, the learner is good, the learner has the ability to think, and the learner has the ability to follow the curriculum respectively. 3) The participatory administration affecting the quality of learners in schools under the Surat Thani primary educational service area office 1 was statistically significant at the 0.01 level. The most significant level was on participation in evaluation and participation in benefit was statistically significant at the 0.01 level. and multiple correlation coefficient at 0.758 (R = 0.758) which can explain the variance of participatory management of schools administrators under the Surat Thani primary educational service area office 1 at 57.5% (R^2= 0.575). It can be written in predicting equations as follows: The predicting equation of raw score (Y) Y= 1.463 + 0.351 (x4) + 0.270 (x3) (R^2= 0.575) The predicting equation of standard score (Zy) Zy= 0.432 (x4) + 0.369 (x3) (R^2= 0.575)
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมของบุคลากรในการบริหารงานวิชาการตามหลักสัปปุริสธรรม 7 โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ดเขต 2 2) เพื่อเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของบุคลากรในการบริหารงานวิชาการตามหลักสัปปุริสธรรม 7 จำแนกตาม ตำแหน่ง ระดับการศึกษา และประสบการณ์ทำงาน 3) เพื่อศึกษาแนวทางการมีส่วนร่วมของบุคลากรในการบริหารงานวิชาการตามหลักสัปปุริสธรรม 7 โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2 กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้บริหารและครูผู้สอน จำนวน 341 คน และผู้ให้ข้อมูลสำคัญจำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่แบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ เท่ากับ 0.98 และแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมุติฐานได้แก่ ค่า t-test, F-test และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า : 1. ระดับการมีส่วนร่วมของบุคลากรในการบริหารงานวิชาการตามหลักสัปปุริสธรรม 7 โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2 โดยรวมอยู่ในระดับมากด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ ด้านการนิเทศภายในสถานศึกษา รองลงมา ด้านการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุดคือ ด้านการจัดการแหล่งเรียนรู้ 2. ผลการเปรียบเทียบระดับความคิดเห็นที่มีต่อการมีส่วนร่วมของบุคลากรในการบริหารงานวิชาการตามหลักสัปปุริสธรรม 7 โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2 จำแนกตามตำแหน่ง ระดับการศึกษา ประสบการณ์การทำงานโดยรวมและรายด้าน ไม่แตกต่างกัน 3. แนวทางการมีส่วนร่วมของบุคลากรในการบริหารงานวิชาการตามหลักสัปปุริสธรรม 7 โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2 สรุปได้ว่า ควรจัดทำหลักสูตรต้องปรับปรุงให้สอดคล้องกับสภาพของปัญหา เหมาะสมกับความต้องการของนักเรียนชุมชนและท้องถิ่นสอดรับกับหลักสูตรแกนกลางเน้นการวัดผลอย่างหลากหลายวิธีจัดตั้งศูนย์วิชาการเพื่อเผยแพร่และแลกเปลี่ยนความรู้และผลการวิจัย
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมของบุคลากรในการบริหารงานวิชาการตามหลักสัปปุริสธรรม 7 โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ดเขต 2 2) เพื่อเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของบุคลากรในการบริหารงานวิชาการตามหลักสัปปุริสธรรม 7 จำแนกตาม ตำแหน่ง ระดับการศึกษา และประสบการณ์ทำงาน 3) เพื่อศึกษาแนวทางการมีส่วนร่วมของบุคลากรในการบริหารงานวิชาการตามหลักสัปปุริสธรรม 7 โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2 กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้บริหารและครูผู้สอน จำนวน 341 คน และผู้ให้ข้อมูลสำคัญจำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่แบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ เท่ากับ 0.98 และแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมุติฐานได้แก่ ค่า t-test, F-test และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า : 1. ระดับการมีส่วนร่วมของบุคลากรในการบริหารงานวิชาการตามหลักสัปปุริสธรรม 7 โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2 โดยรวมอยู่ในระดับมากด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ ด้านการนิเทศภายในสถานศึกษา รองลงมา ด้านการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุดคือ ด้านการจัดการแหล่งเรียนรู้ 2. ผลการเปรียบเทียบระดับความคิดเห็นที่มีต่อการมีส่วนร่วมของบุคลากรในการบริหารงานวิชาการตามหลักสัปปุริสธรรม 7 โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2 จำแนกตามตำแหน่ง ระดับการศึกษา ประสบการณ์การทำงานโดยรวมและรายด้าน ไม่แตกต่างกัน 3. แนวทางการมีส่วนร่วมของบุคลากรในการบริหารงานวิชาการตามหลักสัปปุริสธรรม 7 โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2 สรุปได้ว่า ควรจัดทำหลักสูตรต้องปรับปรุงให้สอดคล้องกับสภาพของปัญหา เหมาะสมกับความต้องการของนักเรียนชุมชนและท้องถิ่นสอดรับกับหลักสูตรแกนกลางเน้นการวัดผลอย่างหลากหลายวิธีจัดตั้งศูนย์วิชาการเพื่อเผยแพร่และแลกเปลี่ยนความรู้และผลการวิจัย
The objectives of the research were 1) to study participation of personnel in academic administration based on 7 Principles of Sappurisadhamma under the Roi Et Primary Education Service Area Office 2., 2) to compare participation of personnel in academic administration based on 7 Principles of Sappurisadhamma of schools in mention classified by positions, educational level and working experiences and, 3) to find out the guidelines for participation of personnel in academic administration based on 7 Principles of Sappurisadhamma of the said schools. Samples were the administrators and teachers, totally 341 in number and 5 interviews. The research instrument for collecting the data was the questionnaire, with its reliability value at 0.98 and quality-verified interview. The data collected were analyzed by the computer program, and the statistical devices composed of Frequency, percentage, mean, standard deviation. The hypothesis was tested with t-test, F-test and content analysis. The research results were as follows: 1. The level of Participation of personnel in academic administration based on 7 Principles of Sappurisadhamma under the Roi-Et Primary education service area office 2 was overall at a high level. The aspect with the highest average was Supervision in educational institutions, followed by the preparation of educational institutions’ curriculum. The side with the lowest mean was learning resource management. 2. The results of the comparison of the level of opinion towards the Participation of personnel in academic administration based on 7 Principles of Sappurisadhamma under the Roi-Et Primary education service area office 2, classified by position, education level and work experience by overall and each aspect were no difference. 3. Guidelines of Participation of personnel in academic administration based on 7 Principles of Sappurisadhamma under the Roi-Et Primary education service area office 2. It can be concluded that the curriculum should be developed in accordance with the condition of the problems, appropriate to the needs of students, community and local, aligned with core curriculum, focus on measuring results in a variety of ways, established an academic center for disseminating and exchanging knowledge and research results.
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์คือ 1) เพื่อศึกษาการบริหารงานวิชาการตามหลักไตรสิกขาของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2 2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของบุคลากรที่มีต่อการบริหารงานวิชาการตามหลักไตรสิกขาของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2 จำแนกตาม ตำแหน่ง, ระดับการศึกษา และประสบการณ์การทำงาน 3) เพื่อศึกษาแนวทางการบริหารงานวิชาการตามหลักไตรสิกขาของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2 กลุ่มตัวอย่าง ผู้บริหารและครูผู้สอน จำนวน 336 คน และผู้ให้ข้อมูลสำคัญจำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่า IOC ระหว่าง 0.67 – 1.00 มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ เท่ากับ 0.935 และแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง สถิติที่ใช้ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติทดสอบค่าที (t-test) และสถิติการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว F-test (One-Way ANOVA) ผลการวิจัยพบว่า 1. ระดับการบริหารงานวิชาการตามหลักไตรสิกขาของผู้บริหารสถานศึกษา มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน เรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากสูงสุดไปต่ำสุด ได้แก่ ด้านการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา รองลงมาคือ ด้านการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ด้านการพัฒนาสื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีทางการศึกษา ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา และด้านการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ ตามลำดับ 2. ผลการเปรียบเทียบระดับความคิดเห็นที่มีต่อการบริหารงานวิชาการตามหลักไตรสิกขาของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2 จำแนกตามตำแหน่ง ระดับการศึกษา และประสบการณ์ โดยรวมไม่แตกต่างกัน 3. แนวทางการบริหารงานวิชาการตามหลักไตรสิกขาของผู้บริหารสถานศึกษา ได้จากการสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้างผู้บริหารสถานศึกษา ได้แนวทาง ดังนี้ 1) ด้านการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา มีการสร้างบริบททางวิชาการที่เป็นเลิศในสถานศึกษาอย่างเป็นรูปธรรม เน้นการใช้สื่อการเรียนการสอน 2) ด้านการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ มีการสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนที่เต็มไปด้วยความอบอุ่น กระตุ้นให้ผู้เรียนรักการเรียน สร้างแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย 3) ด้านการวัดผลประเมินผล มีการวัดผลประเมินผลการเรียนรู้ที่หลากหลายสอดคล้อง ครอบคลุมตัวชี้วัดและมาตรฐานการเรียนรู้ 4) ด้านการพัฒนาสื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีทางการ มีการจัดการเรียนรู้สื่อการสอนและแหล่งเรียนรู้ที่ผู้เรียนได้มีโอกาสพัฒนาตนเองสู่มาตรฐานการเรียนรู้และเหมาะสมกับศักยภาพของผู้เรียน 5) ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา มีการกำหนดนโยบายด้านการวิจัยที่ชัดเจน ส่งเสริมให้ครูทำผลงานประกวดในระดับต่างๆ 6) ด้านการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษามีการกำหนดระบบและกลไกลที่ยึดถือปฏิบัติร่วมกันมีการกำกับ ติดตาม อย่างเป็นระบบแบบแผนที่กำหนด
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์คือ 1) เพื่อศึกษาการบริหารงานวิชาการตามหลักไตรสิกขาของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2 2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของบุคลากรที่มีต่อการบริหารงานวิชาการตามหลักไตรสิกขาของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2 จำแนกตาม ตำแหน่ง, ระดับการศึกษา และประสบการณ์การทำงาน 3) เพื่อศึกษาแนวทางการบริหารงานวิชาการตามหลักไตรสิกขาของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2 กลุ่มตัวอย่าง ผู้บริหารและครูผู้สอน จำนวน 336 คน และผู้ให้ข้อมูลสำคัญจำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่า IOC ระหว่าง 0.67 – 1.00 มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ เท่ากับ 0.935 และแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง สถิติที่ใช้ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติทดสอบค่าที (t-test) และสถิติการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว F-test (One-Way ANOVA) ผลการวิจัยพบว่า 1. ระดับการบริหารงานวิชาการตามหลักไตรสิกขาของผู้บริหารสถานศึกษา มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน เรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากสูงสุดไปต่ำสุด ได้แก่ ด้านการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา รองลงมาคือ ด้านการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ด้านการพัฒนาสื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีทางการศึกษา ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา และด้านการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ ตามลำดับ 2. ผลการเปรียบเทียบระดับความคิดเห็นที่มีต่อการบริหารงานวิชาการตามหลักไตรสิกขาของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2 จำแนกตามตำแหน่ง ระดับการศึกษา และประสบการณ์ โดยรวมไม่แตกต่างกัน 3. แนวทางการบริหารงานวิชาการตามหลักไตรสิกขาของผู้บริหารสถานศึกษา ได้จากการสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้างผู้บริหารสถานศึกษา ได้แนวทาง ดังนี้ 1) ด้านการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา มีการสร้างบริบททางวิชาการที่เป็นเลิศในสถานศึกษาอย่างเป็นรูปธรรม เน้นการใช้สื่อการเรียนการสอน 2) ด้านการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ มีการสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนที่เต็มไปด้วยความอบอุ่น กระตุ้นให้ผู้เรียนรักการเรียน สร้างแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย 3) ด้านการวัดผลประเมินผล มีการวัดผลประเมินผลการเรียนรู้ที่หลากหลายสอดคล้อง ครอบคลุมตัวชี้วัดและมาตรฐานการเรียนรู้ 4) ด้านการพัฒนาสื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีทางการ มีการจัดการเรียนรู้สื่อการสอนและแหล่งเรียนรู้ที่ผู้เรียนได้มีโอกาสพัฒนาตนเองสู่มาตรฐานการเรียนรู้และเหมาะสมกับศักยภาพของผู้เรียน 5) ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา มีการกำหนดนโยบายด้านการวิจัยที่ชัดเจน ส่งเสริมให้ครูทำผลงานประกวดในระดับต่างๆ 6) ด้านการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษามีการกำหนดระบบและกลไกลที่ยึดถือปฏิบัติร่วมกันมีการกำกับ ติดตาม อย่างเป็นระบบแบบแผนที่กำหนด
The objectives of the research were 1) to study academic administration based on the Threefold Training of school administrators under the Roi Et Primary Educational Service Area Office 2, 2) to compare personnel’ s opinion academic administration based on the Threefold Training of school administrators classified bypositions, educational level and working experiences and, 3) to find out the guidelinesfor academic administration based on the Threefold Training of school administrators of the said schools. Samples were the administrators and teachers, totally 336 in number and 5 interviews. The research instrument for collecting the data was the questionnaire, with its reliability value at 0.93 and quality-verified interview. The data collected were analyzed by the computer program, and the statistical devices composed of Frequency, percentage, mean, standard deviation. The hypothesis was tested with t-test, One-way ANOVA F-test and content analysis. The research results were as follows: 1) academic administration based on the Threefold Training of school administrators under the Roi Et Primary Educational Service Area Office 2 was found, in both overall and individual aspects, to stand at a 'MUCH' level. The leading aspect was that of the development of quality assurance systems within school, followed by the development of educational institutions curriculum, the development of media educational innovation and technology, research to improve the quality of education and the learning process development, respectively. 2)The comparison of personnel’s opinion academic administration based on the Threefold Training of school administrators classified by positions, educational level and working experiences was found to show no difference in both overall and individual dimensions. 3) The guidelines for academic administration based on the Threefold Training of school administrators under the Roi Et Primary Educational Service Area Office 2 as suggested by the responses were (1) The development of educational institutions curriculum; here should be a concrete context for academic excellence in educational institutions, emphasis on the use of teaching materials. (2) The learning process development; a classroom atmosphere should be created,encourage students to love learning, Create a variety of learning resources. (3)Measurement and evaluation; there should be a variety of learning outcome assessments that are consistent with each other. It covers learning metrics and standards. (4) The development of media educational innovation and technology; there should be management of teaching materials and learning resources where learners have the opportunity to develop themselves to learning standards and appropriate to the potential of the learners. (5) Research to improve the quality of education; there should be a clear research policy, encourage teachers to do contests at different levels. (6) The development of quality assurance systems within school; there should be established systems and mechanisms that adhere to common practice with systematic supervision and follow-up in a predetermined format.