Search results

33,136 results in 0.06s

หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับธุรกิจ
  • ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
  • ความสัมพันธ์ของเศรษฐศาสตร์กับธุรกิจ
  • ความเสื่อมต่อกันของธุรกิจเศรษฐศาสตร์และการเมือง
  • ความสัมพันธ์ระหว่างธุรกิจกับนโยบายทางการเมืองของนักการเมือง
  • ความสัมพันธ์ระหว่างธุรกิจข้ามชาติกับธุรกิจในประเทศและการเมือง
  • ความสัมพันธ์ระหว่างธุรกิจกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) ศึกษาระดับการมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการพัฒนาพุทธอุทยาน อำเภอเวียงเก่า จังหวัดขอนแก่น 2) ศึกษาเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมขององค์กรภาครัฐในการพัฒนาพุทธอุทยาน อำเภอเวียงเก่า จังหวัดขอนแก่น 3) ศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมขององค์กรภาครัฐในการพัฒนาพุทธอุทยาน อำเภอเวียงเก่า จังหวัดขอนแก่น เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่าง คือเจ้าหน้าที่จากองค์กรภาครัฐ จำนวน 101 คน เครื่องมือการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ จำนวน 30 ข้อ มีระดับค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.89 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า T-test และ ค่า F-test โดยกำหนดนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลการวิจัยพบว่า 1. เจ้าหน้าที่องค์กรภาครัฐมีส่วนร่วมในการพัฒนาพุทธอุทยาน พบว่าโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านการมีส่วนร่วมดำเนินการร่วมปฏิบัติ มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด รองลงมาคือ ด้านการจัดทำแนวกันไฟ และด้านจัดทำขอบเขตที่พักสงฆ์ในพื้นที่ป่าอนุรักษ์มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด 2. ผลการเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมขององค์กรภาครัฐในการพัฒนาพุทธอุทยานอำเภอเวียงเก่า จังหวัดขอนแก่น จำแนกตามเพศ อายุ ประสบการณ์ทำงาน และตำแหน่งหน้าที่ภายในองค์กร โดยภาพรวมแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.5 3. ข้อเสนอแนะการมีส่วนร่วมขององค์กรภาครัฐในการพัฒนาพุทธอุทยาน ได้แก่ ภาครัฐควรมีส่วนร่วมและสนับสนุนการป้องกันไฟป่า การติดตามผลการปฏิบัติงาน การเพาะชำกล้าไม้ การจัดทำป้าย การทำถนนภายในพุทธอุทยานเพื่อป้องกันไฟป่า การปรับภูมิทัศน์ การเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆในวันสำคัญ และการวางแผนเพื่อการพัฒนาพุทธอุทยาน
วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) ศึกษาระดับการมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการพัฒนาพุทธอุทยาน อำเภอเวียงเก่า จังหวัดขอนแก่น 2) ศึกษาเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมขององค์กรภาครัฐในการพัฒนาพุทธอุทยาน อำเภอเวียงเก่า จังหวัดขอนแก่น 3) ศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมขององค์กรภาครัฐในการพัฒนาพุทธอุทยาน อำเภอเวียงเก่า จังหวัดขอนแก่น เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่าง คือเจ้าหน้าที่จากองค์กรภาครัฐ จำนวน 101 คน เครื่องมือการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ จำนวน 30 ข้อ มีระดับค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.89 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า T-test และ ค่า F-test โดยกำหนดนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลการวิจัยพบว่า 1. เจ้าหน้าที่องค์กรภาครัฐมีส่วนร่วมในการพัฒนาพุทธอุทยาน พบว่าโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านการมีส่วนร่วมดำเนินการร่วมปฏิบัติ มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด รองลงมาคือ ด้านการจัดทำแนวกันไฟ และด้านจัดทำขอบเขตที่พักสงฆ์ในพื้นที่ป่าอนุรักษ์มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด 2. ผลการเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมขององค์กรภาครัฐในการพัฒนาพุทธอุทยานอำเภอเวียงเก่า จังหวัดขอนแก่น จำแนกตามเพศ อายุ ประสบการณ์ทำงาน และตำแหน่งหน้าที่ภายในองค์กร โดยภาพรวมแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.5 3. ข้อเสนอแนะการมีส่วนร่วมขององค์กรภาครัฐในการพัฒนาพุทธอุทยาน ได้แก่ ภาครัฐควรมีส่วนร่วมและสนับสนุนการป้องกันไฟป่า การติดตามผลการปฏิบัติงาน การเพาะชำกล้าไม้ การจัดทำป้าย การทำถนนภายในพุทธอุทยานเพื่อป้องกันไฟป่า การปรับภูมิทัศน์ การเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆในวันสำคัญ และการวางแผนเพื่อการพัฒนาพุทธอุทยาน
The objectives of this thesis are as follows: 1) to study the level of participation of government organization in Buddhist park development of Wiang Kao District, Khon Kaen Province, 2) to compare the participation of government organizations in the Buddhist park development of Wiang Kao District, Khon Kaen Province, and 3) to study the recommendations on the participation of government organization in the development of the Buddhist Park of Wiang Kao District, Khon Kaen Province. It is quantitative research, the sample groups were 101 officials from government organizations. The tool of data collection was a questionnaire on a 5-level estimation scale of 30 items with a confidence level of 0.89. The statistics used in the data analysis were percentage, mean, standard deviation, T-test, and F-test values which were determined statistically at the 0.5. level. The results showed that 1. Government organization officials are involved in the development of the Buddhist Park. It was found that the overall level was at the highest level. When considering each aspect, it was found that the participation aspect of the joint practice with the highest average, followed by the preparation of fire protection lines and the boundaries of monks' accommodation in conservation forest areas were the least average. 2. Comparative results of participation of government organization in the development of Buddhist Park in Wiang Kao District, Khon Kaen Province by gender, age, work experience, and positions within the organization, the overall is different statistically significant at the level of 0.5 3. Suggestions for the participation of government organization in the development of Buddhist Park in Wiang Kao District, Khon Kaen Province, including the government sector, should be involved and supported forest fire prevention, performance tracking, planting seedlings, making signs, making roads within the Buddhist Park to prevent forest fires, landscape adjustment participation in activities on important days and planning for the development of the Buddhist Park of Wiang Kao District, Khon Kaen Province.
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาระดับการมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งชมพู อำเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น ตามหลักพรหมวิหาร 4 2) เพื่อเปรียบเทียบระดับการมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งชมพู อำเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น ตามหลักพรหมวิหาร 4 จำแนกตามเพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน และ 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งชมพู อำเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น ตามหลักพรหมวิหาร กลุ่มตัวอย่างที่นำมาศึกษา ได้แก่ ผู้สูงอายุในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งชมพู อำเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น จำนวน 244 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า T-test และค่า F-test โดยกำหนดนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลการวิจัยพบว่า 1. ผู้สูงอายุมีความคิดเห็นต่อการมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งชมพู อำเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น ตามหลักพรหมวิหาร 4 ในภาพรวม อยู่ในระดับมาก ทุกด้าน 2. เปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้สูงอายุต่อการมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งชมพู อำเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น ตามหลักพรหมวิหาร 4 พบว่า ผู้สูงอายุมีความคิดเห็นต่อการมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งชมพู อำเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น ตามหลักพรหมวิหาร 4 โดยจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3. ข้อเสนอแนะการมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งชมพู อำเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น ตามหลักพรหมวิหาร 4 ได้แก่ ควรกำหนดกิจกรรมให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้สูงอายุ ควรให้ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตมากขึ้น ควรมีกิจกรรมที่ศักยภาพของผู้สูงอายุให้มากขึ้น
วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาระดับการมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งชมพู อำเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น ตามหลักพรหมวิหาร 4 2) เพื่อเปรียบเทียบระดับการมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งชมพู อำเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น ตามหลักพรหมวิหาร 4 จำแนกตามเพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน และ 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งชมพู อำเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น ตามหลักพรหมวิหาร กลุ่มตัวอย่างที่นำมาศึกษา ได้แก่ ผู้สูงอายุในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งชมพู อำเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น จำนวน 244 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า T-test และค่า F-test โดยกำหนดนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลการวิจัยพบว่า 1. ผู้สูงอายุมีความคิดเห็นต่อการมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งชมพู อำเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น ตามหลักพรหมวิหาร 4 ในภาพรวม อยู่ในระดับมาก ทุกด้าน 2. เปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้สูงอายุต่อการมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งชมพู อำเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น ตามหลักพรหมวิหาร 4 พบว่า ผู้สูงอายุมีความคิดเห็นต่อการมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งชมพู อำเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น ตามหลักพรหมวิหาร 4 โดยจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3. ข้อเสนอแนะการมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งชมพู อำเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น ตามหลักพรหมวิหาร 4 ได้แก่ ควรกำหนดกิจกรรมให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้สูงอายุ ควรให้ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตมากขึ้น ควรมีกิจกรรมที่ศักยภาพของผู้สูงอายุให้มากขึ้น
The objectives of this thesis were as follows: 1) to study the level of community participation in improving the quality of life of the elderly in Thung Chompoo Subdistrict Administrative Organization, Phu Wiang District, Khon Kaen Province according to Brahmawihara 4 2) to compare the level of community participation in improving the quality of life of the elderly in the Thung Chompoo Subdistrict Administrative Organization, Phu Wiang District, Khon Kaen Province according to Brahmawihara 4, classified by sex, age, education level, occupation and average monthly income, and 3) to study recommendations on community participation in improving the quality of life of the elderly in Thung Chompoo Subdistrict Administrative Organization, Phu Wiang District, Khon Kaen Province according to Brahmawihara 4. The samples included in the study were 244elderly people in Thung Chompoo Subdistrict Administrative Organization, Phu Wiang District, Khon Kaen Province. The questionnaire was as a tool to collect data, which used in the data analysis for the statistics were percentage, mean, standard deviation, T-test and F-test, with statistical significance at .05 level. The results showed that 1. The elderly had an opinion on the community participation in improving the quality of life of the elderly in the Thung Chompoo Subdistrict Administrative Organization, Phu Wiang District, Khon Kaen Province according to the Brahmawihara 4 in general, it was at a high level in all aspects. 2. To compare the opinions of the elderly towards community participation in the development of the elderly's quality of life in Thung Chompoo Subdistrict Administrative Organization, Phu Wiang District, Khon Kaen Province according to Brahmawihara 4 which classified by personal factors such as sex, age, education level, occupation and average monthly income was different according to the hypothesis. It was found that the elderly had opinions on the participation of the community in improving the quality of life of the elderly in the Thung Chompoo Subdistrict Administrative Organization, Phu Wiang District, Khon Kaen Province according to Brahmawihara 4 which classified by personal factors such as sex, age, education level, occupation and average monthly income, they were significantly different at the 0.05 level. 3. Recommendations for community participation in improving the quality of life for the elderly in Thung Chompoo Subdistrict Administrative Organization, Phu Wiang District, Khon Kaen Province according to the Brahmawihara 4, activities should be set according to the needs of the elderly. The elderly should be encouraged to participate in activities to improve the quality of life more. There should be more activities at the potential of the elderly.
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาระดับภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมในการปฏิบัติหน้าที่ของกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล และภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมกับการปฏิบัติหน้าที่ของกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมต่อการปฏิบัติหน้าที่ของกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน โดยใช้แบบสอบถามเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง 395 คน ที่เป็นประชาชนในเขตอำเภออุบลรัตน์ จังหวัดขอนแก่น ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระกับตัวแปรตามโดยใช้ค่าไคสแควร์ มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผลการวิจัยพบว่า: 1. ประชาชนมีความคิดเห็นต่อระดับภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมในการปฏิบัติหน้าที่ของกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน โดยรวมทั้ง 5 ด้าน อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาในแต่ละด้าน พบว่า ด้านความซื่อสัตย์มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ส่วนความคิดเห็นต่อระดับในการปฏิบัติหน้าที่ของกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน โดยรวมทั้ง 5 ด้าน อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาในแต่ละด้าน พบว่า ด้านแผนพัฒนาหมู่บ้านมีค่าเฉลี่ยสูงสุด 2. ผลการการทดสอบความสัมพันธ์ของเพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน ไม่มีความสัมพันธ์กับการปฏิบัติหน้าที่ของกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 และผลการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างด้านภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมกับการปฏิบัติหน้าที่ของกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ในด้านความยุติธรรม ด้านความซื่อสัตย์ ด้านการเสียสละ ด้านความเชื่อถือได้ และด้านความรับผิดชอบ ไม่มีความสัมพันธ์กับการปฏิบัติหน้าที่ของกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน 3. ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมในการปฏิบัติหน้าที่ของกำนัน ผู้ใหญ่บ้านในเขตอำเภออุบลรัตน์ จังหวัดขอนแก่น คือ ควรส่งเสริมให้ประชาชนมีอาชีพเสริม ทำสินค้าพื้นบ้านให้เป็นโอทอป และมีกองทุนกลางเพื่อพัฒนาพร้อมหาตลาดให้ประชาชนด้วย ควรจัดทำแผน โครงการพัฒนาหมู่บ้าน ควรสนับสนุนทุนการศึกษาแก่เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส พร้อมติดตามผลโครงการ เพื่อให้สอดคล้องกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาระดับภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมในการปฏิบัติหน้าที่ของกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล และภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมกับการปฏิบัติหน้าที่ของกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมต่อการปฏิบัติหน้าที่ของกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน โดยใช้แบบสอบถามเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง 395 คน ที่เป็นประชาชนในเขตอำเภออุบลรัตน์ จังหวัดขอนแก่น ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระกับตัวแปรตามโดยใช้ค่าไคสแควร์ มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผลการวิจัยพบว่า: 1. ประชาชนมีความคิดเห็นต่อระดับภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมในการปฏิบัติหน้าที่ของกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน โดยรวมทั้ง 5 ด้าน อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาในแต่ละด้าน พบว่า ด้านความซื่อสัตย์มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ส่วนความคิดเห็นต่อระดับในการปฏิบัติหน้าที่ของกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน โดยรวมทั้ง 5 ด้าน อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาในแต่ละด้าน พบว่า ด้านแผนพัฒนาหมู่บ้านมีค่าเฉลี่ยสูงสุด 2. ผลการการทดสอบความสัมพันธ์ของเพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน ไม่มีความสัมพันธ์กับการปฏิบัติหน้าที่ของกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 และผลการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างด้านภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมกับการปฏิบัติหน้าที่ของกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ในด้านความยุติธรรม ด้านความซื่อสัตย์ ด้านการเสียสละ ด้านความเชื่อถือได้ และด้านความรับผิดชอบ ไม่มีความสัมพันธ์กับการปฏิบัติหน้าที่ของกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน 3. ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมในการปฏิบัติหน้าที่ของกำนัน ผู้ใหญ่บ้านในเขตอำเภออุบลรัตน์ จังหวัดขอนแก่น คือ ควรส่งเสริมให้ประชาชนมีอาชีพเสริม ทำสินค้าพื้นบ้านให้เป็นโอทอป และมีกองทุนกลางเพื่อพัฒนาพร้อมหาตลาดให้ประชาชนด้วย ควรจัดทำแผน โครงการพัฒนาหมู่บ้าน ควรสนับสนุนทุนการศึกษาแก่เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส พร้อมติดตามผลโครงการ เพื่อให้สอดคล้องกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
The objectives of this thesis are as follows: 1) to study the level of ethical leadership in work performance of the village headman 2) to study the relationship between personal factors and ethical leadership with work performance of the village headman 3) to study the recommendations of ethical leadership towards work performance of the village headman using a questionnaire to collect data from a sample of 395 people who were residents of Ubonrat District, Khon Kaen Province. Data were analyzed using descriptive statistics such as percentage, mean, standard deviation. The relationship between independent variables and dependent variables was studied using chi-squared values which was statistically significant at the 0.05 level. The results of research were found that: 1. People's opinions on the level of ethical leadership in work performance of the village headman in all 5 aspects were at a high level when considering each aspect, it was found that honesty had the highest average. As for the opinions on the level of work performance of the village headman in all 5 aspects, it was at a high level when considering each aspect, it was found that the village development plan had the highest average. 2. The results of the relationship test were gender, age, education level, occupation and monthly average income. There is no relationship with work performance of the village headman, significantly at the 0.05 level and the test result of the relationship between ethical leadership and work performance of the village headman in justice, honesty, sacrifice, reliability and responsibility. There was no significant relationship with work performance of the village headman. 3. Recommendations on ethical leadership in work performance of the village headman in Ubonrat district, Khon Kaen Province is to encourage people to have additional occupations, making local products into OTOP and there is a central fund to develop and find a market for the people as well. The village headman should prepare a village development project plan, support scholarships for children, youth, the underprivileged and follow up on the project results to be consistent with the local government organizations.
หนังสือ

    บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของงานวิจัย/ดุษฎีนิพนธ์เรื่อง” โอวาทปาติโมกข์ : การเสริมสร้างโครงข่ายดุลยภาพชีวิต” มีวัตถุประสงค์ ๔ ประการ ๑. เพื่อศึกษาการเสริมสร้างโครงข่ายดุลยภาพชีวิต ๒. เพื่อศึกษาพระโอวาทปาติโมกข์ในฐานะเป็นการเสริมสร้างโครงข่ายดุลยภาพชีวิต ๓. เพื่อบูรณาการการเสริมสร้างโครงข่ายดุลยภาพชีวิตด้วยหลักพระโอวาทปาติโมกข์ ๔. เพื่อนำเสนอองค์ความรู้เกี่ยวกับ “รูปแบบบูรณาการการเสริมสร้างโครงข่ายดุลยภาพชีวิตด้วยหลักพระโอวาทปาติโมกข์” โดยการศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพเน้นการศึกษาเอกสาร นำเสนอผลการวิจัยด้วยวิธีวิเคราะห์เชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า เพื่อให้ชีวิตมีความสมดุล มีความสมบูรณ์ เราสามารถเสริมสร้างโครงข่ายดุลยภาพชีวิตการนำแนวทาง ทั้งสองแนวทางมาบูรณาการเข้าด้วยกัน สามารถสรุปได้ด้วยโครงข่ายทั้ง ๖ ด้านที่เป็นระบบโครงข่ายเชื่อมโยงกันและกัน ซึ่งเป็นระบบโครงข่ายที่เชื่อมโยงต่อเนื่องกันไม่สามารถขาดออกจากกันได้ ซึ่งต่อไปนี้ผู้วิจัยจักขอเรียกโครงข่ายระบบการเชื่อมโยงของ ๖ โครงข่ายนี้ว่า ๖ สมังคี ซึ่งมีหัวข้อดังต่อไปนี้ สมังคีที่ ๑). บูรณาการโครงข่ายเศรษฐกิจ เรามีความจำเป็นต้องดำรงชีวิตอยู่บนโลกด้วยฐานด้านเศรษฐกิจ ไม่ควรยึดเศรษฐกิจบนหนทางกิเลส ต้องทำมาหากินสร้างรายได้ เลี้ยงตนเลี้ยงครอบครัวด้วยเศรษฐกิจบนหนทางแห่งปัญญา ดังนั้นการหารายได้จึงต้องเน้นทำงานหาเงินด้วยการไม่ทำบาปทั้งปวง สมังคีที่ ๒) โครงข่ายการสื่อสารโดยเราจักต้องเน้นสื่อสารแต่สิ่งที่เป็นประโยชน์ มีความชัดเจน จริงใจ ไม่สื่อสารด้วยกล่าวว่าร้ายผู้อื่น โจมตี ต่อว่าผู้อื่น การสื่อสารแบบมีอคติ สมังคีที่ ๓) โครงข่ายด้านสิ่งแวดล้อมไม่มีสิ่งใดบนโลกนี้ที่ไม่เชื่อมโยงถึงกัน ทุกสรรพชีวิตสัมพันธ์กันเป็นโครงข่าย ดังนั้นเพื่อความสมดุลของชีวิต เราจึงไม่ควรเบียดเบียนสิ่งมีชีวิตบนโลกนี้ ทุกชนิดสมังคีที่ ๔) โครงข่ายด้านสุขภาพมนุษย์เราไม่สามารถขาดซึ่งความสมบูรณ์ของสุขภาพทางกาย สุขภาพทางใจได้สุขภาพเชื่อมโยงเป็นโครงข่าย ทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิต สิ่งใดสิ่งหนึ่งเสียสมดุล อีกสิ่งหนึ่งก็ไม่สามารถที่จะดีได้ สมังคีที่ ๕) โครงข่ายด้านการบริหารจัดการ วิธีการบริหารจัดการภายนอกคือต้องให้เวลา ให้ความจริงใจ กับครอบครัวและคนรอบข้างโดยไม่คิดที่จะทำร้ายผู้อื่น ไม่ว่าร้ายกล่าวร้ายผู้อื่น บริหารจัดการภายในคือการรักษาศีล สมังคีที่ ๖) โครงข่ายด้านกรอบความคิดทางจิตวิญญาณ ความเชื่อคือสิ่งที่ทำให้เรามีความสุขในการแสวงหาตนเอง สามารถแสวงหาความสุขจากจิตใจได้ และเป้าหมายกรอบความคิดทางจิตวิญญาณของเราทุกคนคือ นิพพาน ซึ่งก็คือจุดสูงสุดของความสมดุลของชีวิต
บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของงานวิจัย/ดุษฎีนิพนธ์เรื่อง” โอวาทปาติโมกข์ : การเสริมสร้างโครงข่ายดุลยภาพชีวิต” มีวัตถุประสงค์ ๔ ประการ ๑. เพื่อศึกษาการเสริมสร้างโครงข่ายดุลยภาพชีวิต ๒. เพื่อศึกษาพระโอวาทปาติโมกข์ในฐานะเป็นการเสริมสร้างโครงข่ายดุลยภาพชีวิต ๓. เพื่อบูรณาการการเสริมสร้างโครงข่ายดุลยภาพชีวิตด้วยหลักพระโอวาทปาติโมกข์ ๔. เพื่อนำเสนอองค์ความรู้เกี่ยวกับ “รูปแบบบูรณาการการเสริมสร้างโครงข่ายดุลยภาพชีวิตด้วยหลักพระโอวาทปาติโมกข์” โดยการศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพเน้นการศึกษาเอกสาร นำเสนอผลการวิจัยด้วยวิธีวิเคราะห์เชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า เพื่อให้ชีวิตมีความสมดุล มีความสมบูรณ์ เราสามารถเสริมสร้างโครงข่ายดุลยภาพชีวิตการนำแนวทาง ทั้งสองแนวทางมาบูรณาการเข้าด้วยกัน สามารถสรุปได้ด้วยโครงข่ายทั้ง ๖ ด้านที่เป็นระบบโครงข่ายเชื่อมโยงกันและกัน ซึ่งเป็นระบบโครงข่ายที่เชื่อมโยงต่อเนื่องกันไม่สามารถขาดออกจากกันได้ ซึ่งต่อไปนี้ผู้วิจัยจักขอเรียกโครงข่ายระบบการเชื่อมโยงของ ๖ โครงข่ายนี้ว่า ๖ สมังคี ซึ่งมีหัวข้อดังต่อไปนี้ สมังคีที่ ๑). บูรณาการโครงข่ายเศรษฐกิจ เรามีความจำเป็นต้องดำรงชีวิตอยู่บนโลกด้วยฐานด้านเศรษฐกิจ ไม่ควรยึดเศรษฐกิจบนหนทางกิเลส ต้องทำมาหากินสร้างรายได้ เลี้ยงตนเลี้ยงครอบครัวด้วยเศรษฐกิจบนหนทางแห่งปัญญา ดังนั้นการหารายได้จึงต้องเน้นทำงานหาเงินด้วยการไม่ทำบาปทั้งปวง สมังคีที่ ๒) โครงข่ายการสื่อสารโดยเราจักต้องเน้นสื่อสารแต่สิ่งที่เป็นประโยชน์ มีความชัดเจน จริงใจ ไม่สื่อสารด้วยกล่าวว่าร้ายผู้อื่น โจมตี ต่อว่าผู้อื่น การสื่อสารแบบมีอคติ สมังคีที่ ๓) โครงข่ายด้านสิ่งแวดล้อมไม่มีสิ่งใดบนโลกนี้ที่ไม่เชื่อมโยงถึงกัน ทุกสรรพชีวิตสัมพันธ์กันเป็นโครงข่าย ดังนั้นเพื่อความสมดุลของชีวิต เราจึงไม่ควรเบียดเบียนสิ่งมีชีวิตบนโลกนี้ ทุกชนิดสมังคีที่ ๔) โครงข่ายด้านสุขภาพมนุษย์เราไม่สามารถขาดซึ่งความสมบูรณ์ของสุขภาพทางกาย สุขภาพทางใจได้สุขภาพเชื่อมโยงเป็นโครงข่าย ทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิต สิ่งใดสิ่งหนึ่งเสียสมดุล อีกสิ่งหนึ่งก็ไม่สามารถที่จะดีได้ สมังคีที่ ๕) โครงข่ายด้านการบริหารจัดการ วิธีการบริหารจัดการภายนอกคือต้องให้เวลา ให้ความจริงใจ กับครอบครัวและคนรอบข้างโดยไม่คิดที่จะทำร้ายผู้อื่น ไม่ว่าร้ายกล่าวร้ายผู้อื่น บริหารจัดการภายในคือการรักษาศีล สมังคีที่ ๖) โครงข่ายด้านกรอบความคิดทางจิตวิญญาณ ความเชื่อคือสิ่งที่ทำให้เรามีความสุขในการแสวงหาตนเอง สามารถแสวงหาความสุขจากจิตใจได้ และเป้าหมายกรอบความคิดทางจิตวิญญาณของเราทุกคนคือ นิพพาน ซึ่งก็คือจุดสูงสุดของความสมดุลของชีวิต
This article is a part of the thesis entitled “Ovādapātimokkha : Reinforcement of Life Balance Network” and it has 4 objectives: 1) To study the reinforcement of the life equilibrium network, 2) To study the Ovādapātimokkha as a means of enhancing the life equilibrium network, 3) To integrate the reinforcement of the life equilibrium network with the teaching of the Ovādapātimokkha, and 4) To present the body of knowledge about “Integrated model for enhancing the network of equilibrium of life with the teachings of the Ovādapātimokkha. It is a documentary qualitative research. Its contents were presented by descriptive analysis method. It was found from the study that: To keep life in balance and completeness, we can strengthen the life balance network by integration of both approaches together. The six aspects of the network are interconnected and cannot be separated from each other, Hereinafter, the network of these 6 linkage systems will be named as the 6 Samangis, which have the following topics: Samangi 1) Integration of economic networks; to live on the planet with an economic base, but not rely on it with defilements, it should be relied on the path of wisdom in earning for living a life, not committing all sins. Samangi 2) Communication network; we must focus on communicating only with good conduct in word and avoiding verbal misconduct. Samangi 3) Environmental network; nothing in this world is independent and disconnected. All beings are related to each other in a network. For the balance of life, encroachment of living beings on this planet is not suitable. Samangi 4) Health network; Human beings cannot Samangi 4) Health network; Human beings cannot lack of physical health and mental health. Both are interconnected. Without each one, life will be imbalanced. Samangi 5) The method of external management; time and sincerity must be provided to family and people around. For internal management is to maintain precepts. Samangi 6) The network of spiritual Mindset; Faith can make us happy in our pursuit of ourselves and enable us to seek happiness in our mind. The goal of our spiritual paradigms is nirvana and it is the foremost balance network of life.
หนังสือ

หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการพัฒนาสังคมตามแนวพุทธปรัชญาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาบทบาทการพัฒนาสังคมของวัดป่าถ้ำพระเทพนิมิต อำเภอกุดจับ จังหวัดอุดรธานีและ 3) เพื่อวิเคราะห์การพัฒนาสังคมตามแนวพุทธปรัชญาเถรวาทของวัดป่าถ้ำพระเทพนิมิต อำเภอกุดจับ จังหวัดอุดรธานีวิทยานิพนธ์นี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยการศึกษาข้อมูลจากพระไตรปิฎก ตำราวิชาการ ผลงานวิจัย วิทยานิพนธ์ที่เกี่ยวข้อง และใช้แนวสัมภาษณ์เชิงลึก แล้วนำมาวิเคราะห์และสรุปผลการวิจัย ผลจากการวิจัยพบว่า 1. การพัฒนาสังคมตามแนวพุทธปรัชญาเถรวาทของวัดป่าถ้ำพระเทพนิมิต อำเภอกุดจับ จังหวัดอุดรธานี ใช้หลักคำสอนที่พระพุทธเจ้าทรงนำเสนอไว้ในพระไตรปิฎกมาอบรมสั่งสอนพุทธศาสนิกชนให้เข้าถึงความรู้ ความจริง โดยมีเป้าหมายเพื่อการพัฒนาจิตใจและร่างกายของมนุษย์ โดยเริ่มที่การสร้างศรัทธาให้เกิดขึ้น การอบรมด้วยศีลเพื่อน้อมจิตให้เข้าสู่สภาวะปกติแห่งมนุษย์ที่แท้จริง การกำหนดกรอบการดำรงชีวิตด้วยเบญจศีล เพื่อสร้างระเบียบวินัยทางกาย ทางวาจา การส่งเสริมจริยธรรมคุณธรรมเพื่อการบรรลุเป้าหมายชีวิตที่ดีงาม และการดำเนินชีวิตที่ไม่ประมาทด้วยการสร้างความเข้มแข็งทางจิตใจ และมีสติปัญญาที่มั่นคง 2. บทบาทของวัดป่าถ้ำพระเทพนิมิต อำเภอกุดจับ จังหวัดอุดรธานี ทั้ง 6 ด้าน ได้แก่ ด้านการปกครอง ด้านศาสนศึกษา ด้านการศึกษาสงเคราะห์ ด้านการเผยแผ่ศาสนา ด้านสาธารณูปการ และด้านสาธารณสงเคราะห์ พบว่าเป็นไปตามกฎของมหาเถรสมาคม พระธรรมวินัย และกฎของวัดป่าถ้ำพระเทพนิมิต 3. หลักพุทธปรัชญาในการพัฒนาสังคมของวัดป่าถ้ำพระเทพนิมิต อำเภอกุดจับ จังหวัดอุดรธานี ที่เจ้าอาวาสนำมาใช้ในการพัฒนาสังคมทั้ง 6 ด้าน เป็นไปตามหลักธรรมคำสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าแล้วหลักพรหมวิหาร 4 อันเป็นวิหารธรรมที่เป็นเครื่องอยู่ของหลวงพ่อสมเกียรติ ชิตมาโร ท่านได้น้อมนำมาปฏิบัติอยู่เป็นประจำจนสามารถสร้างคุณูปการให้เกิดขึ้นตามบทบาทหน้าที่ทั้งในฐานะเจ้าอาวาส และพระเถระผู้ทรงคุณอันประเสริฐอีกด้วย
วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการพัฒนาสังคมตามแนวพุทธปรัชญาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาบทบาทการพัฒนาสังคมของวัดป่าถ้ำพระเทพนิมิต อำเภอกุดจับ จังหวัดอุดรธานีและ 3) เพื่อวิเคราะห์การพัฒนาสังคมตามแนวพุทธปรัชญาเถรวาทของวัดป่าถ้ำพระเทพนิมิต อำเภอกุดจับ จังหวัดอุดรธานีวิทยานิพนธ์นี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยการศึกษาข้อมูลจากพระไตรปิฎก ตำราวิชาการ ผลงานวิจัย วิทยานิพนธ์ที่เกี่ยวข้อง และใช้แนวสัมภาษณ์เชิงลึก แล้วนำมาวิเคราะห์และสรุปผลการวิจัย ผลจากการวิจัยพบว่า 1. การพัฒนาสังคมตามแนวพุทธปรัชญาเถรวาทของวัดป่าถ้ำพระเทพนิมิต อำเภอกุดจับ จังหวัดอุดรธานี ใช้หลักคำสอนที่พระพุทธเจ้าทรงนำเสนอไว้ในพระไตรปิฎกมาอบรมสั่งสอนพุทธศาสนิกชนให้เข้าถึงความรู้ ความจริง โดยมีเป้าหมายเพื่อการพัฒนาจิตใจและร่างกายของมนุษย์ โดยเริ่มที่การสร้างศรัทธาให้เกิดขึ้น การอบรมด้วยศีลเพื่อน้อมจิตให้เข้าสู่สภาวะปกติแห่งมนุษย์ที่แท้จริง การกำหนดกรอบการดำรงชีวิตด้วยเบญจศีล เพื่อสร้างระเบียบวินัยทางกาย ทางวาจา การส่งเสริมจริยธรรมคุณธรรมเพื่อการบรรลุเป้าหมายชีวิตที่ดีงาม และการดำเนินชีวิตที่ไม่ประมาทด้วยการสร้างความเข้มแข็งทางจิตใจ และมีสติปัญญาที่มั่นคง 2. บทบาทของวัดป่าถ้ำพระเทพนิมิต อำเภอกุดจับ จังหวัดอุดรธานี ทั้ง 6 ด้าน ได้แก่ ด้านการปกครอง ด้านศาสนศึกษา ด้านการศึกษาสงเคราะห์ ด้านการเผยแผ่ศาสนา ด้านสาธารณูปการ และด้านสาธารณสงเคราะห์ พบว่าเป็นไปตามกฎของมหาเถรสมาคม พระธรรมวินัย และกฎของวัดป่าถ้ำพระเทพนิมิต 3. หลักพุทธปรัชญาในการพัฒนาสังคมของวัดป่าถ้ำพระเทพนิมิต อำเภอกุดจับ จังหวัดอุดรธานี ที่เจ้าอาวาสนำมาใช้ในการพัฒนาสังคมทั้ง 6 ด้าน เป็นไปตามหลักธรรมคำสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าแล้วหลักพรหมวิหาร 4 อันเป็นวิหารธรรมที่เป็นเครื่องอยู่ของหลวงพ่อสมเกียรติ ชิตมาโร ท่านได้น้อมนำมาปฏิบัติอยู่เป็นประจำจนสามารถสร้างคุณูปการให้เกิดขึ้นตามบทบาทหน้าที่ทั้งในฐานะเจ้าอาวาส และพระเถระผู้ทรงคุณอันประเสริฐอีกด้วย
This thesis has the following objectives: 1) to study social development according to Theravada Buddhist philosophy, 2) to study the role of social development of Wat Pa Tham PhraThepnimit in Kutchap district of Udonthani province; and 3) to analyze the social development according to Theravada Buddhist philosophy of Wat Pa Tham Phra Thepnimit in Kutchap district of Udonthani province. The information of this qualitative research was collected from the Tipitaka, academic textbooks, research works and in-depth interviews and then analyzed and summarized into the research results. The results of the research found that: 1. Social Development according to Theravada Buddhist Philosophy of Wat Pa Tham Phra Thep Nimit in Kutchap district of Udonthani province is based on the doctrine taught by the Lord Buddha in the Tipitaka to train and teach the Buddhists to gain access to knowledge. The goal of developing is to improve the people’s mind and body starting with building faith, training with precepts to bring the mind to the normal state of true human beings, determining the framework of living with the five precepts in order to create physical and verbal discipline and moral ethics to achieve good life goals including a careless lifestyle by building mental strength and have stable intelligence. 2. The roles of Wat Pa Tham PhraThepnimit in Kutchap district of Udonthani province cover 6 aspects based on the rules and regulations of the Sangha Supreme Council and of Wat Pa Tham PhraThepnimit. They are administration, religious study, educational welfare, religious dissemination, public assistance and public welfare. 3. The principles of Buddhist philosophy for social development used by Venerable Somkiat Jitamaro, the abbot of Wat Pa Tham Phra Thepnimit in Kutchap district of Udonthani province, are the principles of Brahmavihara Dhamma.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • Demons in the desert
  • Finding a new spring
  • The golden plate
  • The mouse merchant
  • The price maker
  • Prince Goodspeaker and the water demon
  • Little Prince No-Father
  • The one-hundredth prince
  • The king with one gray hair
  • The happy monk
  • Beauty and gray
  • King Banyan deer
  • Mountain Buck and Village Doe
  • The wood-deer and the honey-grass
  • The fawn who played hooky
  • The fawn who played dead
  • The wind and the moon
  • The goat who saved the priest
  • The god in the banyan tree
  • The monkey king and the water demon
  • The tree that acted like a hunter
  • The dog king silver
  • The great horse knowing-one
  • Dirty bath water
  • Ladyface
  • Best friends
  • The bull called Delightful
  • Grandma's Blackie
  • Big Red, Little Red and No-squeal
  • The heaven of 33
  • The dancing peacock
  • The Quail King and the hunter
  • The fortunate fish
  • The baby quail who could not fly away
  • Wise birds and foolish birds
  • The birth of a banyan tree
  • The crane and the crab
  • Buried treasure
  • The silent Buddha
  • The curse of Mittavinda
  • The pigeon and the crow
  • Bamboo's father
  • Two stupid children
  • Watering the garden
  • Salty liquor
  • The magic priest and the kidnaper gang
  • The groom who lost his bride to the stars
  • The prince who had a plan.
หนังสือ