Search results

33,136 results in 0.06s

สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง

    ปีที่ 18 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2565) วารสารฉบับนี้ได้ผ่านการพิจารณาและรับรองคุณภาพวารสารให้อยู่ในฐานข้อมูล Thai Journal Citation Index TCI กลุ่ม 2 สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
Note: ปีที่ 18 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2565) วารสารฉบับนี้ได้ผ่านการพิจารณาและรับรองคุณภาพวารสารให้อยู่ในฐานข้อมูล Thai Journal Citation Index TCI กลุ่ม 2 สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
TOC:
  • บทความวิชาการ ดนตรีล้านนากับการพัฒนาชุมชน
  • บทความวิจัย การสะท้อนปัญหาสังคมจีนผ่านการดัดแปลงเรื่องสั้นสู่ภาพยนตร์เซ่ยงหนี่ว์เซียวเซียว
  • การเปลี่ยนแปลงทางความหมายและการปรับตัวของอักษรจีนที่เกี่ยวกับการเซ่นไหว้ในหมวด SHI SHI
  • การศึกษาเปรียบเทียบการออกเสียงพยัญชนะฐานริมฝีปากระหว่างภาษาจีนกับภาษาเกาหลี
  • ความเข้าใจในการใช้คำช่วยของผู้เรียนภาษาญี่ปุ่นชั้นต้น
  • การพัฒนาบทเรียนออนไลน์โดยใช้วิจัยเป็นฐานในรายวิชาภาษาอังกฤษเพื่องานมัคคุเทศก์
  • การส้างแบบฝึกการใช้นิทานพื้นบ้านของจังหวัดน่านเพื่อพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่4 โรงเรยนบ้านทุ่งน้อย ตำบลฝายแก้ว อำเภอภูเพียง จังหวัดน่าน
  • การบริหารจัดการเรยนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านวิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสารสำหรับครูของนักศึกษาครุศาสตรบัณฑิต
  • การพัฒนาบทเรียนภาษาไทยและภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยวชุมชนในพื้นที่ตำบลแม่วิน อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่
สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง

    Vol.20 No.2 2022
Note: Vol.20 No.2 2022
สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง

    ปีที่ 41 ฉบับที่ 3 กันยายน - ธันวาคม 2565
Note: ปีที่ 41 ฉบับที่ 3 กันยายน - ธันวาคม 2565
TOC:
  • รัฐกับวิกฤตการณ์
  • บทบาทของ กสศ. ในวิกฤติการศึกษาของเด็กช่วงโควิด-19
  • จากรัฐเวชกรรม ถึงประชาสังคมเวชกรรม : ข้อพินิจว่าด้วยอำนาจ ความทุกข์ และการขับเคลื่อนสังคม ภายใต้สภาวะวิกฤตการณ์โรคระบาดโควิด-19 การวิเคราะห์สุนทรพจน์เกี่ยวกับแนวคิด "สุขอนามัยร่วมกันสำกรับมนุษยชาติ" ของประธานาธิบดีจีนสีจิ้นผิง
  • ปัจจัยจำแนกการอยู่รอดของธุรกิจสตาร์ทอัพในประเทศไทยในข่วงสถานการณ์โรคโควิค -19
  • การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีของแรงงานคืนถิ่นจากธุรกิจโรงแรมและภัตตาคารในช่วงวิกฤคิการณ์โควิค - 19
  • การท่องเที่ยวเชิงอาหารในประเทศไทยภายใต้การระบาดของโรคโควิด - 19
  • ตัวชี้วัดการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนโดยชุมชนวิถีใหม่ท่ามกลางภาวะวิกฤติโรคติดเชื้อไวรัสโรโคนา 2019
  • การศึกษาแผนแม่บทการพัฒนาการท่องเที่ยวทางน้ำของไทย พ.ศ. 2560-2564 ภายใต้วิกฤติ COVID -19 เพื่อการฟื้นฟูการท่องเที่ยวภายในประเทศ
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2550
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2550
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • บทนำ
  • เหตุปัจจัยที่ทำให้เกิดสมาธิตามแนวพระพุทธศาสนา
  • แนวปฏิบัติก่อนการฝึกสมาธิ
  • การทำสมาธิตามหลักฐานที่ปรากฏในพระไตรปิฎกและคัมภีร์วิสุทธิมรรค
  • การฝึกสมาธิตามหลักอานาปานสติ
  • ฌาน : ผลที่เกิดจากการทำสมาธิ
  • วิปัสสนาญาณ
  • สมาธิ-วิปัสสนา : หนทางแห่งสันติภาพของโลก
หนังสือ

    ดุษฎีนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการบริโภคสื่อออนไลน์ 2) เพื่อศึกษาพุทธปัญญาที่เกี่ยวกับพฤติกรรมการบริโภคสื่อออนไลน์ 3) เพื่อบูรณาการการบริโภคสื่อออนไลน์ด้วยพุทธปัญญา 4) เพื่อนําเสนอองค์ความรู้เกี่ยวกับ “การบริโภคสื่อออนไลน์ด้วยพุทธปัญญาบูรณาการ”โดยมีระเบียบวิธีวิจัยคือ ดำเนินการวิจัยเชิงคุณภาพแบบวิจัยเอกสาร ศึกษาค้นคว้าเอกสารปฐมภูมิ ทุติยภูมิ เอกสารวิชาการ แนวคิดทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง มีการสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 15 รูป/คน นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์และสังเคราะห์เพื่อตอบวัตถุประสงค์สรุปผลการวิจัยเพื่อหาข้อสรุปนำเสนอแนวทางและการสร้างองค์ความรู้รูปแบบใหม่เกี่ยวกับการบริโภคสื่อออนไลน์ด้วยพุทธปัญญาบูรณาการต่อไป ผลการวิจัยพบว่า 1. พฤติกรรมการบริโภคสื่อออนไลน์ จากการประยุกต์ใช้แนวทางในการบริโภคสื่อออนไลน์ของ Renee Hobbs ว่าด้วยแนวทางในการบริโภคสื่อออนไลน์อย่างรู้เท่าทัน ร่วมกับปัญหาและแนวทางการแก้ใขการบริโภคสื่อออนไลน์ พฤติกรรมการบริโภคสื่อออนไลน์สามารถแบ่งออกมาเป็น 4 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านการเข้าถึงสื่อ 2) ด้านการวิเคราะห์สื่อ 3) ด้านการสะท้อนสื่อ และ 4) ด้านการประเมินสื่อ 2. หลักพุทธปัญญาที่นำมาส่งเสริมและแก้ใขปัญหาในการบริโภคสื่อออนไลน์ในสังคมไทย 4 ด้าน ประกอบด้วย 1) ด้านการเข้าถึงสื่อ ใช้หลักพุทธปัญญา คือ หลักสัมมาสติ หลักสัมมาสมาธิ และหลักอินทรียสังวร 2) ด้านการวิเคราะห์สื่อ ใช้หลักพุทธปัญญา คือ หลักกาลามสูตร 3) ด้านการสะท้อนสื่อ ใช้หลักพุทธปัญญา คือ หลักสัมมาวาจา และ 4) ด้านการประเมินสื่อ ใช้หลักพุทธปัญญา คือ หลักโยนิโสมนสิการ 3. เมื่อนำหลักพุทธปัญญาที่เหมาะสมมาบูรณาการเพื่อส่งเสริมและแก้ใขปัญหาการบริโภคสื่อออนไลน์ในแต่ละด้าน ทั้ง 4 ด้าน ทำให้เกิดคุณสมบัติ คือ 1) เป็นผู้ตั้งใจในการเข้าถึงสื่อออนไลน์ 2) มีการวิเคราะห์ด้วยปัญญา 3) ปฏิสัมพันธ์ด้วยความสุภาพ และ 4) มีการประเมินที่แท้จริง 4. องค์ความรู้ที่ได้เกี่ยวจากการวิจัยเกี่ยวกับ การบริโภคสื่อออนไลน์ด้วยพุทธปัญญาบูรณาการ คือ AWPS MODEL A = Attention Access หมายถึง การตั้งใจในการเข้าถึงสื่อออนไลน์ กำหนดเป้าหมายก่อนเข้าใช้งาน ไม่คล้อยไปตามอารมณ์สื่อระหว่างใช้ และตั้งใจจนจบการใช้งาน W = Wisdom Analysis หมายถึง การวิเคราะห์ด้วยปัญญา ในเนื้อหาสื่อด้วยความรู้ ประสบการณ์ ในข้อเท็จจริง คุณค่า ประโยชน์ที่ปรากฏในสื่อตามความเป็นจริงตามสภาวธรรม P = Polite Reflection (Interaction) หมายถึง ปฏิสัมพันธ์ด้วยความสุภาพต่อกันในสังคมสื่อออนไลน์ มีการแชร์เนื้อหาสื่อ การแสดงความคิดเห็นในเชิงบวก S = Substantive Evaluation หมายถึง การประเมินที่แท้จริงต่อเนื้อหาความน่าเชื่อถือ ความถูกต้อง คุณค่า ผลกระทบ ข้อดีข้อเสียของสื่อออนไลน์ก่อนนำไปใช้ประโยชน์
ดุษฎีนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการบริโภคสื่อออนไลน์ 2) เพื่อศึกษาพุทธปัญญาที่เกี่ยวกับพฤติกรรมการบริโภคสื่อออนไลน์ 3) เพื่อบูรณาการการบริโภคสื่อออนไลน์ด้วยพุทธปัญญา 4) เพื่อนําเสนอองค์ความรู้เกี่ยวกับ “การบริโภคสื่อออนไลน์ด้วยพุทธปัญญาบูรณาการ”โดยมีระเบียบวิธีวิจัยคือ ดำเนินการวิจัยเชิงคุณภาพแบบวิจัยเอกสาร ศึกษาค้นคว้าเอกสารปฐมภูมิ ทุติยภูมิ เอกสารวิชาการ แนวคิดทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง มีการสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 15 รูป/คน นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์และสังเคราะห์เพื่อตอบวัตถุประสงค์สรุปผลการวิจัยเพื่อหาข้อสรุปนำเสนอแนวทางและการสร้างองค์ความรู้รูปแบบใหม่เกี่ยวกับการบริโภคสื่อออนไลน์ด้วยพุทธปัญญาบูรณาการต่อไป ผลการวิจัยพบว่า 1. พฤติกรรมการบริโภคสื่อออนไลน์ จากการประยุกต์ใช้แนวทางในการบริโภคสื่อออนไลน์ของ Renee Hobbs ว่าด้วยแนวทางในการบริโภคสื่อออนไลน์อย่างรู้เท่าทัน ร่วมกับปัญหาและแนวทางการแก้ใขการบริโภคสื่อออนไลน์ พฤติกรรมการบริโภคสื่อออนไลน์สามารถแบ่งออกมาเป็น 4 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านการเข้าถึงสื่อ 2) ด้านการวิเคราะห์สื่อ 3) ด้านการสะท้อนสื่อ และ 4) ด้านการประเมินสื่อ 2. หลักพุทธปัญญาที่นำมาส่งเสริมและแก้ใขปัญหาในการบริโภคสื่อออนไลน์ในสังคมไทย 4 ด้าน ประกอบด้วย 1) ด้านการเข้าถึงสื่อ ใช้หลักพุทธปัญญา คือ หลักสัมมาสติ หลักสัมมาสมาธิ และหลักอินทรียสังวร 2) ด้านการวิเคราะห์สื่อ ใช้หลักพุทธปัญญา คือ หลักกาลามสูตร 3) ด้านการสะท้อนสื่อ ใช้หลักพุทธปัญญา คือ หลักสัมมาวาจา และ 4) ด้านการประเมินสื่อ ใช้หลักพุทธปัญญา คือ หลักโยนิโสมนสิการ 3. เมื่อนำหลักพุทธปัญญาที่เหมาะสมมาบูรณาการเพื่อส่งเสริมและแก้ใขปัญหาการบริโภคสื่อออนไลน์ในแต่ละด้าน ทั้ง 4 ด้าน ทำให้เกิดคุณสมบัติ คือ 1) เป็นผู้ตั้งใจในการเข้าถึงสื่อออนไลน์ 2) มีการวิเคราะห์ด้วยปัญญา 3) ปฏิสัมพันธ์ด้วยความสุภาพ และ 4) มีการประเมินที่แท้จริง 4. องค์ความรู้ที่ได้เกี่ยวจากการวิจัยเกี่ยวกับ การบริโภคสื่อออนไลน์ด้วยพุทธปัญญาบูรณาการ คือ AWPS MODEL A = Attention Access หมายถึง การตั้งใจในการเข้าถึงสื่อออนไลน์ กำหนดเป้าหมายก่อนเข้าใช้งาน ไม่คล้อยไปตามอารมณ์สื่อระหว่างใช้ และตั้งใจจนจบการใช้งาน W = Wisdom Analysis หมายถึง การวิเคราะห์ด้วยปัญญา ในเนื้อหาสื่อด้วยความรู้ ประสบการณ์ ในข้อเท็จจริง คุณค่า ประโยชน์ที่ปรากฏในสื่อตามความเป็นจริงตามสภาวธรรม P = Polite Reflection (Interaction) หมายถึง ปฏิสัมพันธ์ด้วยความสุภาพต่อกันในสังคมสื่อออนไลน์ มีการแชร์เนื้อหาสื่อ การแสดงความคิดเห็นในเชิงบวก S = Substantive Evaluation หมายถึง การประเมินที่แท้จริงต่อเนื้อหาความน่าเชื่อถือ ความถูกต้อง คุณค่า ผลกระทบ ข้อดีข้อเสียของสื่อออนไลน์ก่อนนำไปใช้ประโยชน์
The objectives of this dissertation are as follows: 1) to study online media consumption behavior, 2) to study Buddhist wisdom related to online media consumption behavior, 3) to integrate online media consumption with Buddhist wisdom, and 4) to present a body of knowledge on "Consumption of online media integrated with Buddhist wisdom". The data of this documentary qualitative research were collected from documents, related research works and in-depth interviews with 15 experts. The collected data were analyzed and synthesized and then presented in a descriptive method. The study results showed that: 1. Online media consumption behaviours based on the application of Renee Hobbs's Guide in Online Media Consumption Guidelines for Consciously Consuming Online Media together with problems and solutions for consuming online media can be divided into 4 aspects: 1) Media Access, 2) Media Analysis, 3) Media Reflection, and 4) Media Assessment. 2. Principles of Buddhist wisdom used to promote online media consumption and solve problems in online media consumption in Thai society are in 4 aspects: 1) the principle of right mindfulness (Sammāsati), the principle of right concentration (Sammāsamāthi), and the principles of sense-restraint (Indarīyasamvara) are for media accessibility, 2) the principles of Kalama Sutta (Kālāmasutta) are for media analysis, 3) the reflection of the media using the Buddha-wisdom principle, i.e. the principle of right speech (Sammāvācā) is for the media reflection, and 4) the principle of Yonisomanasikāra is for media assessment. 3. When the Buddhist wisdom is appropriately integrated to promoting online media consumption and solving online media consumption problems, it causes the 4 qualifications: 1) to access online media intentionally, 2) to analyze the media by wisdom, 3) to express polite interactions, and 4) to have true evaluation. 4. The body of knowledge gained from the study can be concluded into “AWPS MODEL”. A stands for Attention Access, W for Wisdom Analysis, P for Polite Interaction, and S is for Substantive Rate.
หนังสือ

    ดุษฎีนิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัญหาชีวิตและการดูแลคุณภาพชีวิตในสถานการณ์โควิด19 2) เพื่อศึกษาหลักพุทธปรัชญาเถรวาทที่เหมาะสมกับการดูแลคุณภาพชีวิตในยุคโควิด 19 3) เพื่อบูรณาการหลักพุทธปรัชญาเถรวาทเพื่อดูแลคุณภาพชีวิตในสถานการณ์โควิด 19 4) เพื่อเสนอองค์ความรู้เรื่อง การบูรณาการหลักพุทธปรัชญาเถรวาทเพื่อดูแลคุณภาพชีวิตในสถานการณ์โควิด19 โดยการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลจากพระไตรปิฎก ตำราและเอกสารที่เกี่ยวข้องเป็นหลักและการสัมภาษณ์เชิงลึก กลุ่มนักวิชาการด้านพระพุทธศาสนา จำนวน 5 รูป/คนกลุ่มสายงานด้านการดูแลสุขภาพ จำนวน 5 คนตัวแทนผู้ได้รับผลกระทบในสถานการณ์โควิด 19 จำนวน 5 คนรวมทั้งสิ้น จำนวน 15 รูป/คนวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา นำเสนอข้อมูลเชิงพรรณนา ผลจากการวิจัยพบว่า: 1. สภาพปัญหาชีวิตในสถานการณ์โควิด19 ทำให้พบสภาพปัญหาชีวิตที่ปรากฏในสถานการณ์โควิด 19 3 ด้าน คือ 1) ปัญหาด้านจิตใจมีความเครียดความวิตกกังวลที่เพิ่มขึ้น 2) ปัญหาด้านสังคมวิถีการดำเนินชีวิต การจำกัดสิทธิเสรีภาพ การตกงาน ส่งผลถึงครอบครัว สังคม ประเพณีและวิถีปฏิบัติ 3) ปัญหาด้านเศรษฐกิจในหลายกลุ่มประชากร การตกงาน การขาดรายได้และมีผลกระทบที่รุนแรงและยังไม่มีแนวโน้มที่จะดีขึ้น 2. หลักพุทธปรัชญาเถรวาทที่เหมาะสมกับการที่จะนำมาพัฒนาคุณภาพชีวิตประกอบด้วย 1)พรหมวิหารธรรม 4 หลักธรรมประจำใจอันประเสริฐธรรมเครื่องอยู่อย่างประเสริฐ 2) สังคหวัตถุ 4 หลักการสงเคราะห์กันในสังคม เป็นธรรมที่เป็นที่ตั้งแห่งการสงเคราะห์กันยึดเหนี่ยวน้ำใจกัน 3) ทิฏฐธัมมิกัตถะ 4 หลักการสร้างประโยชน์ในปัจจุบัน เป็นธรรมที่สร้างความสุขให้กับบุคคลผู้ดำเนินชีวิตในปัจจุบัน 3. การบูรณาการหลักพุทธปรัชญาเถรวาทเพื่อดูแลคุณภาพชีวิตในสถานการณ์โควิด 19 พบว่า ปัญหาด้านจิตใจได้นำหลักพรหมวิหาร 4 เข้ามาบูรณาการดูแลคุณภาพชีวิตปัญหาด้านสังคมได้นำหลักสังคหวัตถุ 4 เข้ามาบูรณาการดูแลคุณภาพชีวิต ปัญหาด้านเศรษฐกิจได้นำหลักทิฏฐธัมมิกัตถะ 4 เข้ามาบูรณาการดูแลคุณภาพชีวิต 4. องค์ความรู้ใหม่ที่ได้เรียกว่า “MSE Strong” โมเดลM มาจาก Mentally Strong มีความเข้มแข็งทางจิตใจ S มาจาก Socially Strong มีความเข้มแข็งทางสังคมและ E มาจาก Economic Strong มีความเข้มแข็งเศรษฐกิจ เป็นความรู้ที่สามารถนำมาปรับใช้เพื่อดูแลคุณภาพชีวิตในสถานการณ์โควิด 19 ได้เป็นอย่างดี
ดุษฎีนิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัญหาชีวิตและการดูแลคุณภาพชีวิตในสถานการณ์โควิด19 2) เพื่อศึกษาหลักพุทธปรัชญาเถรวาทที่เหมาะสมกับการดูแลคุณภาพชีวิตในยุคโควิด 19 3) เพื่อบูรณาการหลักพุทธปรัชญาเถรวาทเพื่อดูแลคุณภาพชีวิตในสถานการณ์โควิด 19 4) เพื่อเสนอองค์ความรู้เรื่อง การบูรณาการหลักพุทธปรัชญาเถรวาทเพื่อดูแลคุณภาพชีวิตในสถานการณ์โควิด19 โดยการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลจากพระไตรปิฎก ตำราและเอกสารที่เกี่ยวข้องเป็นหลักและการสัมภาษณ์เชิงลึก กลุ่มนักวิชาการด้านพระพุทธศาสนา จำนวน 5 รูป/คนกลุ่มสายงานด้านการดูแลสุขภาพ จำนวน 5 คนตัวแทนผู้ได้รับผลกระทบในสถานการณ์โควิด 19 จำนวน 5 คนรวมทั้งสิ้น จำนวน 15 รูป/คนวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา นำเสนอข้อมูลเชิงพรรณนา ผลจากการวิจัยพบว่า: 1. สภาพปัญหาชีวิตในสถานการณ์โควิด19 ทำให้พบสภาพปัญหาชีวิตที่ปรากฏในสถานการณ์โควิด 19 3 ด้าน คือ 1) ปัญหาด้านจิตใจมีความเครียดความวิตกกังวลที่เพิ่มขึ้น 2) ปัญหาด้านสังคมวิถีการดำเนินชีวิต การจำกัดสิทธิเสรีภาพ การตกงาน ส่งผลถึงครอบครัว สังคม ประเพณีและวิถีปฏิบัติ 3) ปัญหาด้านเศรษฐกิจในหลายกลุ่มประชากร การตกงาน การขาดรายได้และมีผลกระทบที่รุนแรงและยังไม่มีแนวโน้มที่จะดีขึ้น 2. หลักพุทธปรัชญาเถรวาทที่เหมาะสมกับการที่จะนำมาพัฒนาคุณภาพชีวิตประกอบด้วย 1)พรหมวิหารธรรม 4 หลักธรรมประจำใจอันประเสริฐธรรมเครื่องอยู่อย่างประเสริฐ 2) สังคหวัตถุ 4 หลักการสงเคราะห์กันในสังคม เป็นธรรมที่เป็นที่ตั้งแห่งการสงเคราะห์กันยึดเหนี่ยวน้ำใจกัน 3) ทิฏฐธัมมิกัตถะ 4 หลักการสร้างประโยชน์ในปัจจุบัน เป็นธรรมที่สร้างความสุขให้กับบุคคลผู้ดำเนินชีวิตในปัจจุบัน 3. การบูรณาการหลักพุทธปรัชญาเถรวาทเพื่อดูแลคุณภาพชีวิตในสถานการณ์โควิด 19 พบว่า ปัญหาด้านจิตใจได้นำหลักพรหมวิหาร 4 เข้ามาบูรณาการดูแลคุณภาพชีวิตปัญหาด้านสังคมได้นำหลักสังคหวัตถุ 4 เข้ามาบูรณาการดูแลคุณภาพชีวิต ปัญหาด้านเศรษฐกิจได้นำหลักทิฏฐธัมมิกัตถะ 4 เข้ามาบูรณาการดูแลคุณภาพชีวิต 4. องค์ความรู้ใหม่ที่ได้เรียกว่า “MSE Strong” โมเดลM มาจาก Mentally Strong มีความเข้มแข็งทางจิตใจ S มาจาก Socially Strong มีความเข้มแข็งทางสังคมและ E มาจาก Economic Strong มีความเข้มแข็งเศรษฐกิจ เป็นความรู้ที่สามารถนำมาปรับใช้เพื่อดูแลคุณภาพชีวิตในสถานการณ์โควิด 19 ได้เป็นอย่างดี
The objectives of this dissertation were: 1) to study the state of life problems in the situation of COVID-19, 2) to study the principles of Theravada Buddhist philosophy suitable to take care of the quality of life in the situation of COVID-19, 3) to integrate the Theravada Buddhist philosophy to take care of the quality of life in the situation of COVID-19, and 4) to propose the body of knowledge on integration of Theravada Buddhist philosophy in taking care of the quality of life in the situation of COVID-19. The data used in the study were collected from the Tipitaka, textbooks, related documents, in-depth interviews with 5 Buddhist scholars, 5 health care personnel, and 5 Covid-19 patients. The data were analyzed by content analysis and presented in a descriptive form. The results of the research showed that: 1. The state of life problems in the situation of COVID-19 that causes the quality of life in 3 aspects: 1) psychological problems, increase of stress and anxiety, 2) social problems, lifestyle, restrictions on rights and freedom, and unemployment affecting family, society, traditions and ways of life, and 3) economic problems in many demographic groups, unemployment, and lack of income. It has a severe impact to life and no tendency to recover. 2. The principles of Theravada Buddhist philosophy suitable to improve the quality of life consist of: 1) Brahmawihara Dhamma or the sublime states of mind, 2)Sangahavatthu Dhamma or principles of service and social integration, and 3) Ditthadhammikattha or sources of happiness in the present life. 3. The integration of Theravada Buddhist philosophy in taking care of quality of life in the situation of COVID-19 found that psychological problems should be integrated with Brahmavihara Dhamma principles, social problems should be integrated with Sangahavatthu principles, and economic problems should be integrated Ditthadhammikattha principles. 4. The new body of knowledge obtained from the study can be concluded into the “MSE Strong Model”. M is from Mentally Strong, S from Socially Strong, and E from Economic Strong. This model can be appropriately applied to take care of the quality of life in the Covid-19 situation.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขาวิชาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขาวิชาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551