Search results

6 results in 0.04s

หนังสือ

    โครงการจัดทำสัททานุกรมพระไตรปิฎกเชิงวิจัย ฉบับบาลี-ไทย เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จรพระเจ้าอยูหัว เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ ศูนย์แผยแผ่พระพุทธศาสนาแห่งชาติ สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ
โครงการจัดทำสัททานุกรมพระไตรปิฎกเชิงวิจัย ฉบับบาลี-ไทย เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จรพระเจ้าอยูหัว เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ ศูนย์แผยแผ่พระพุทธศาสนาแห่งชาติ สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ
หนังสือ

    สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย คือ 1) เพื่อศึกษาการบริหารจัดการศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการ ศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดร้อยเอ็ด 2) เพื่อเปรียบเทียบการบริหารจัดการศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดร้อยเอ็ด จำแนกตามเพศ วุฒิการศึกษาและประสบการณ์การทำงาน 3) เพื่อศึกษาข้อ เสนอแนะการบริหารจัดการศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดร้อยเอ็ด กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้บริหาร ครู ครูอาสาสมัครฯ และครู กศน.ตำบล จำนวน 187 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา เท่า กับ 0.67-1.00 และมีความเชื่อมั่นเท่ากับ .91 ผลการวิจัยพบว่า: 1. สภาพการบริหารจัดการศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดร้อยเอ็ด โดยรวมอยู่ ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านโดยเรียงจากด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงไปต่ำ ได้แก่ ด้านการพัฒนาบุคลากร ของสถานศึกษา ด้านการบริหารจัดการสถานศึกษา ด้านผลลัพธ์/ภาพความสำเร็จ ด้านการจัดกิจกรรม พัฒนาผู้เรียน และด้านหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน 2. การเปรียบเทียบระดับความคิดเห็นที่มีต่อการบริหารจัดการศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดร้อยเอ็ด จำแนกตามเพศ ด้านการบริหารจัดการสถานศึกษา แตกต่างกันอย่างมีนัย สำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยรวมและด้านอื่น ๆ ไม่แตกต่างกัน ส่วนจำแนกตามวุฒิการศึกษา โดย รวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน และจำแนกตามประสบการณ์ในการทำงาน โดยรวมและด้านการบริหารจัดการสถานศึกษา ด้านหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน ด้านการพัฒนาบุคลากรของสถานศึกษา และด้านผลลัพธ์/ภาพความสำเร็จ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนด้านการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนไม่แตกต่างกัน 3. ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารจัดการศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดร้อยเอ็ด สถานศึกษาควรมีการบริหารจัดการที่ดี ให้การดำเนินงานด้านการบริหารงานถูกต้องรวดเร็วเป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล ควรมีการใช้หลักสูตรในการจัดการเรียนการสอนของครูให้ครูมีความพร้อมในการใช้หลักสูตร ควรการบริหารและการจัดการศึกษาให้ได้มาตรฐานและมีคุณภาพสอดคล้องกับระบบประกันคุณภาพการศึกษา จัดให้มีการพัฒนาบุคลากรแบบให้เห็นผลจริง และสถานศึกษามีการจัดการตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงศึกษาอย่างต่อเนื่อง
สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย คือ 1) เพื่อศึกษาการบริหารจัดการศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการ ศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดร้อยเอ็ด 2) เพื่อเปรียบเทียบการบริหารจัดการศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดร้อยเอ็ด จำแนกตามเพศ วุฒิการศึกษาและประสบการณ์การทำงาน 3) เพื่อศึกษาข้อ เสนอแนะการบริหารจัดการศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดร้อยเอ็ด กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้บริหาร ครู ครูอาสาสมัครฯ และครู กศน.ตำบล จำนวน 187 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา เท่า กับ 0.67-1.00 และมีความเชื่อมั่นเท่ากับ .91 ผลการวิจัยพบว่า: 1. สภาพการบริหารจัดการศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดร้อยเอ็ด โดยรวมอยู่ ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านโดยเรียงจากด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงไปต่ำ ได้แก่ ด้านการพัฒนาบุคลากร ของสถานศึกษา ด้านการบริหารจัดการสถานศึกษา ด้านผลลัพธ์/ภาพความสำเร็จ ด้านการจัดกิจกรรม พัฒนาผู้เรียน และด้านหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน 2. การเปรียบเทียบระดับความคิดเห็นที่มีต่อการบริหารจัดการศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดร้อยเอ็ด จำแนกตามเพศ ด้านการบริหารจัดการสถานศึกษา แตกต่างกันอย่างมีนัย สำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยรวมและด้านอื่น ๆ ไม่แตกต่างกัน ส่วนจำแนกตามวุฒิการศึกษา โดย รวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน และจำแนกตามประสบการณ์ในการทำงาน โดยรวมและด้านการบริหารจัดการสถานศึกษา ด้านหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน ด้านการพัฒนาบุคลากรของสถานศึกษา และด้านผลลัพธ์/ภาพความสำเร็จ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนด้านการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนไม่แตกต่างกัน 3. ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารจัดการศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดร้อยเอ็ด สถานศึกษาควรมีการบริหารจัดการที่ดี ให้การดำเนินงานด้านการบริหารงานถูกต้องรวดเร็วเป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล ควรมีการใช้หลักสูตรในการจัดการเรียนการสอนของครูให้ครูมีความพร้อมในการใช้หลักสูตร ควรการบริหารและการจัดการศึกษาให้ได้มาตรฐานและมีคุณภาพสอดคล้องกับระบบประกันคุณภาพการศึกษา จัดให้มีการพัฒนาบุคลากรแบบให้เห็นผลจริง และสถานศึกษามีการจัดการตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงศึกษาอย่างต่อเนื่อง
The purposes of this study were to 1) study the educational management based on sufficiency economy philosophy in schools under Roi et informal and non-formal education promotion office 2) compare the educational managementbased on sufficiency economy philosophy in schools under Roi et informal and non-formal education promotion office, classified by gender, education background, and work experience 3) study on suggestions about the educational management based on sufficiency economy philosophy in schools under Roi et informal and non-formal education promotion office. The sample group used in this research was 187 of administrators, teachers, volunteer teachers, and non-formal education teachers. The instrument used for data collection was a 5 rating scale questionnaire with content validity equal to0.67-1.00 and the confidence was 0. 91. The results of this study found that 1. The educational management conditions based on sufficiency economy philosophy in schools under Roi et informal and non-formal education promotion officetotally was a high level. When considering each side, arranged from the highest to the lowest, with personnel development of the school, school management, completeness, organizing student development activities, and the curriculum and learning management. 2. Comparison of opinion levels on Educational management conditions based on sufficiency economy philosophy in schools under Roi et inform and non-formal promotionoffice, classified by sex,school management,differences were statistically significant at 0.5 leveltotally, and other aspects were not different. By education background totally, and each aspect was not different. Classified according to work experience overall and schoolmanagement, curriculum and learning management, personnel development of the school, and completeness, differences were statistically significant at the .05 level, and no differences in organizing student development activities. 3. Suggestions about the education management based on sufficiency economyPhilosophy in schools under Roi et informal and non-informal education promotion office were educational institutions should have a good management for as administrative operation were accurate, convenient, and in accordance with good governance. And furthermore, Teachers’ willingness of the curriculum management, standard and quality of education in compliancewith quality assurance, personnel development with real result, and organization of educational institutions according to the principles of the sufficiency economy philosophy incessantly.
หนังสือ

    สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย คือ 1) เพื่อศึกษาความคิดเห็นต่อการบริหารงานบุคลากรตามหลักสังคหวัตถุ 4 ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดร้อยเอ็ด 2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นต่อการบริหารงานบุคลากรตามหลักสังคหวัตถุ 4 ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดร้อยเอ็ด จำแนกตาม เพศ อายุ และวุฒิการศึกษา 3) เพื่อรวบรวมข้อเสนอแนะความคิดเห็นต่อการบริหารงานบุคลากรตามหลักสังคหวัตถุ 4 ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดร้อยเอ็ด กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ข้าราชการครู ครู กศน. ตำบล และครูอาสาสมัครฯ รวมทั้งสิ้น 169 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ค่าความเที่ยงตรงของเนื้อหาระหว่าง 0.67-1.00 ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .91 ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพการบริหารงานบุคลากรตามหลักสังคหวัตถุ 4 ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดร้อยเอ็ด โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านโดยเรียงจากด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงไปต่ำ ได้แก่ ด้านการวางแผนงานบุคคล ด้านการประเมินผลการปฏิบัติงาน ด้านการจัดบุคคลเข้าปฏิบัติงาน ด้านการพัฒนาบุคคล ด้านการธำรงรักษาบุคคล 2. ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นของบุคลากรที่มีต่อการบริหารงานบุคลากรตามหลัก สังคหวัตถุ 4 ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดร้อยเอ็ด จำแนกตามเพศ ด้านการวางแผนงานบุคคล แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนในภาพโดยรวมและด้านอื่น ๆ ไม่แตกต่างกัน จำแนกตามระดับอายุ โดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน จำแนกตามวุฒิการศึกษา โดยรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 3. ข้อเสนอแนะการบริหารงานบุคลากรตามหลักสังคหวัตถุ 4 ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดร้อยเอ็ด พบว่า ควรประชุมชี้แจงนโยบายการวางแผนการทำงานนำสู่การปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น จัดบุคลากรให้ปฏิบัติหน้าที่ให้ตรงตามความสามารถอย่างเหมาะสม และชัดเจน มีความยุติธรรมในการจัดบุคลากรเข้าปฏิบัติงาน สำรวจความต้องการฝึกอบรมของบุคลากร ส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรได้มีโอกาสเข้ารับการอบรม ประชุม สัมมนาเพื่อเพิ่มพูนความรู้ และประสบการณ์ โดยเน้นหลักสูตรที่นำมาใช้ในการปฏิบัติงานได้อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง จัดระบบสวัสดิการที่เหมาะสมแก่บุคลากร การตรวจสอบ กำกับ ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบและแจ้งผลการประเมินให้ทราบทุกครั้ง
สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย คือ 1) เพื่อศึกษาความคิดเห็นต่อการบริหารงานบุคลากรตามหลักสังคหวัตถุ 4 ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดร้อยเอ็ด 2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นต่อการบริหารงานบุคลากรตามหลักสังคหวัตถุ 4 ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดร้อยเอ็ด จำแนกตาม เพศ อายุ และวุฒิการศึกษา 3) เพื่อรวบรวมข้อเสนอแนะความคิดเห็นต่อการบริหารงานบุคลากรตามหลักสังคหวัตถุ 4 ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดร้อยเอ็ด กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ข้าราชการครู ครู กศน. ตำบล และครูอาสาสมัครฯ รวมทั้งสิ้น 169 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ค่าความเที่ยงตรงของเนื้อหาระหว่าง 0.67-1.00 ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .91 ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพการบริหารงานบุคลากรตามหลักสังคหวัตถุ 4 ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดร้อยเอ็ด โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านโดยเรียงจากด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงไปต่ำ ได้แก่ ด้านการวางแผนงานบุคคล ด้านการประเมินผลการปฏิบัติงาน ด้านการจัดบุคคลเข้าปฏิบัติงาน ด้านการพัฒนาบุคคล ด้านการธำรงรักษาบุคคล 2. ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นของบุคลากรที่มีต่อการบริหารงานบุคลากรตามหลัก สังคหวัตถุ 4 ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดร้อยเอ็ด จำแนกตามเพศ ด้านการวางแผนงานบุคคล แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนในภาพโดยรวมและด้านอื่น ๆ ไม่แตกต่างกัน จำแนกตามระดับอายุ โดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน จำแนกตามวุฒิการศึกษา โดยรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 3. ข้อเสนอแนะการบริหารงานบุคลากรตามหลักสังคหวัตถุ 4 ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดร้อยเอ็ด พบว่า ควรประชุมชี้แจงนโยบายการวางแผนการทำงานนำสู่การปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น จัดบุคลากรให้ปฏิบัติหน้าที่ให้ตรงตามความสามารถอย่างเหมาะสม และชัดเจน มีความยุติธรรมในการจัดบุคลากรเข้าปฏิบัติงาน สำรวจความต้องการฝึกอบรมของบุคลากร ส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรได้มีโอกาสเข้ารับการอบรม ประชุม สัมมนาเพื่อเพิ่มพูนความรู้ และประสบการณ์ โดยเน้นหลักสูตรที่นำมาใช้ในการปฏิบัติงานได้อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง จัดระบบสวัสดิการที่เหมาะสมแก่บุคลากร การตรวจสอบ กำกับ ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบและแจ้งผลการประเมินให้ทราบทุกครั้ง
The purposes of this study were to 1) study opinion on personnel administration based on the four principles of kindly treatment of school administrators under Roi Et Informal and Non-formal Education Promotion Office 2) compare opinions on Personnel administration based on the four principles of kindly treatment of school administrators under Roi Et Informal and Non-formal Education Promotion Office classified by gender, age and educational background 3) collect suggestions and opinions towards Personnel administration based on the four principles of kindly treatment of school administrators under Roi Et Informal and Non-formal Education Promotion Office. The sample group used in this research was 169 of civil servant teachers, sub-district administration organization teachers, and volunteer teachers. The instrument used for data collection was a 5 rating scale questionnaire with content validity equal to 0.67-1.00 and the confidence was 0. 91 The results of this study found that: 1) The state of personnel administration based on the four principles of kindly treatment of school administrators under Roi Et Informal and Non-formal Education Promotion Office were found, on both overall and individual aspects, to stand at the ‘high’ level. In individual aspect, the item that stood on top of the scale was human resource planning performance, followed by evaluation in arranging personnel for working the maintenance of personnel, human resource development, and personnel maintenance, respectively. 2) The comparison of the opinions of the personnel administration based on the four principles of kindly treatment of school administrators under Roi Et Informal and Non-formal Education Promotion Office, classified by gender, in personnel planning was found to show statistically significant at the .05 level. In the overall image and other aspects, were not different, classified by age overall and each aspect was not different, classified by educational background overall and the aspects were significantly different at the .05 level. 3) The suggestions proposed by the respondents were the following: meetings should be made to clarify policy, work planning and implementation effectively, give an opportunity to participate in the expression of opinions arrange for personnel to perform their duties appropriately and clearly. There is impartiality in arranging personnel to work, survey the training needs of personnel promote and support personnel to have the opportunity to attend training seminars to increase knowledge, and experience by focusing on the curriculum that can be used in the operation at least once a year, organizing the appropriate welfare system for personnel, checking, supervising, following up and evaluating the systematic performance, and notifying the evaluation results every time.
หนังสือ

    สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบและตัวบ่งชี้การบริหาร งานบุคลากรตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดร้อยเอ็ด 2) เพื่อตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้างและความเชื่อมั่นเชิงโครงสร้างขององค์ประกอบและตัวบ่งชี้การบริหารงานบุคลากรตามหลักพรหมวิหาร 4 และ 3) เพื่อยืนยันองค์ประกอบการบริหารงานบุคลากรตามหลักพรหมวิหาร 4 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ กลุ่มผู้บริหาร กลุ่มครูผู้สอน และกลุ่มผู้สนับสนุนการจัดการศึกษา รวมทั้งสิ้น 402 คน โดยการเลือกตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิอย่างเป็นสัดส่วน (Proportion Stratified sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า (Rating scale) แบ่งออกเป็น 5 ระดับ มีความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) อยู่ระหว่าง 0.67 - 1.00 ค่าอำนาจจำแนกรายข้ออยู่ระหว่าง 0.458 -0.913 และมีค่าความเชื่อมั่น (Reliability) ทั้งฉบับเท่ากับ0.984 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ (Frequency) ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และการตรวจสอบความสอดคล้องและความเหมาะสมของโมเดลการวัด (Measurement Model) โดยการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (Confirmatory Factor Analysis : CFA) ผลการวิจัยพบว่า 1)องค์ประกอบและตัวบ่งชี้การบริหารงานบุคลากรตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดร้อยเอ็ด โดยรวมอยู่ในระดับปฏิบัติมาก ด้านที่มีค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านการสร้างขวัญกำลังใจในการปฏิบัติงาน ด้านการประเมินผลการปฏิบัติงานบุคลากร ด้านการพัฒนาบุคลากร ด้านการวางแผนงาน บุคลากร ด้านการจัดบุคลากรเข้าปฏิบัติงาน และด้านการธำรงรักษาบุคลากร 2) ผลการตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้างและความเชื่อมั่นเชิงโครงสร้างขององค์ประกอบและตัวบ่งชี้การบริหาร งานบุคลากรตามหลักพรหมวิหาร 4 ทั้ง 6 องค์ประกอบและ 60 บ่งชี้มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 จัดเรียงอันดับตามค่าน้ำหนักองค์ประกอบ (λ) จากมากไปหาน้อย ดังนี้ 1) องค์ประกอบด้านการสร้างขวัญกำลังใจในการปฏิบัติงาน (λ =0.776) 2) องค์ประกอบด้านการประเมินผลการปฏิบัติงานบุคลากร (λ =0.731) 3) องค์ประกอบด้านการพัฒนาบุคลากร (λ =0.668) 4) องค์ประกอบด้านการวางแผนงานบุคลากร (λ =0.642) 5) องค์ประกอบด้านการจัดบุคลากรเข้าปฏิบัติงาน (λ =0.572) 6) องค์ประกอบด้านการธำรงรักษาบุคลากร (λ =0.562) ตามลำดับ ผลการยืนยันองค์ประกอบการบริหารงานบุคลากรตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดร้อยเอ็ด โมเดลมีความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้าง (Construct Validity) ซึ่งพิจารณาจากค่า χ2= 16.441, df =9, p-value=0.125, CFI=0.965, TLI=0.960, SRMR = 0.030, RMSEA = 0.003, χ2 / df = 1.827และความเชื่อมั่นเชิงโครงสร้าง (Construct Reliability : CR) เท่ากับ 0.985 ซึ่งมีค่ามากกว่า 0.60 แสดงว่าโมเดลมีความสอดคล้องและเหมาะสมกับข้อมูลเชิงประจักษ์
สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบและตัวบ่งชี้การบริหาร งานบุคลากรตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดร้อยเอ็ด 2) เพื่อตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้างและความเชื่อมั่นเชิงโครงสร้างขององค์ประกอบและตัวบ่งชี้การบริหารงานบุคลากรตามหลักพรหมวิหาร 4 และ 3) เพื่อยืนยันองค์ประกอบการบริหารงานบุคลากรตามหลักพรหมวิหาร 4 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ กลุ่มผู้บริหาร กลุ่มครูผู้สอน และกลุ่มผู้สนับสนุนการจัดการศึกษา รวมทั้งสิ้น 402 คน โดยการเลือกตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิอย่างเป็นสัดส่วน (Proportion Stratified sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า (Rating scale) แบ่งออกเป็น 5 ระดับ มีความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) อยู่ระหว่าง 0.67 - 1.00 ค่าอำนาจจำแนกรายข้ออยู่ระหว่าง 0.458 -0.913 และมีค่าความเชื่อมั่น (Reliability) ทั้งฉบับเท่ากับ0.984 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ (Frequency) ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และการตรวจสอบความสอดคล้องและความเหมาะสมของโมเดลการวัด (Measurement Model) โดยการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (Confirmatory Factor Analysis : CFA) ผลการวิจัยพบว่า 1)องค์ประกอบและตัวบ่งชี้การบริหารงานบุคลากรตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดร้อยเอ็ด โดยรวมอยู่ในระดับปฏิบัติมาก ด้านที่มีค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านการสร้างขวัญกำลังใจในการปฏิบัติงาน ด้านการประเมินผลการปฏิบัติงานบุคลากร ด้านการพัฒนาบุคลากร ด้านการวางแผนงาน บุคลากร ด้านการจัดบุคลากรเข้าปฏิบัติงาน และด้านการธำรงรักษาบุคลากร 2) ผลการตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้างและความเชื่อมั่นเชิงโครงสร้างขององค์ประกอบและตัวบ่งชี้การบริหาร งานบุคลากรตามหลักพรหมวิหาร 4 ทั้ง 6 องค์ประกอบและ 60 บ่งชี้มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 จัดเรียงอันดับตามค่าน้ำหนักองค์ประกอบ (λ) จากมากไปหาน้อย ดังนี้ 1) องค์ประกอบด้านการสร้างขวัญกำลังใจในการปฏิบัติงาน (λ =0.776) 2) องค์ประกอบด้านการประเมินผลการปฏิบัติงานบุคลากร (λ =0.731) 3) องค์ประกอบด้านการพัฒนาบุคลากร (λ =0.668) 4) องค์ประกอบด้านการวางแผนงานบุคลากร (λ =0.642) 5) องค์ประกอบด้านการจัดบุคลากรเข้าปฏิบัติงาน (λ =0.572) 6) องค์ประกอบด้านการธำรงรักษาบุคลากร (λ =0.562) ตามลำดับ ผลการยืนยันองค์ประกอบการบริหารงานบุคลากรตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดร้อยเอ็ด โมเดลมีความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้าง (Construct Validity) ซึ่งพิจารณาจากค่า χ2= 16.441, df =9, p-value=0.125, CFI=0.965, TLI=0.960, SRMR = 0.030, RMSEA = 0.003, χ2 / df = 1.827และความเชื่อมั่นเชิงโครงสร้าง (Construct Reliability : CR) เท่ากับ 0.985 ซึ่งมีค่ามากกว่า 0.60 แสดงว่าโมเดลมีความสอดคล้องและเหมาะสมกับข้อมูลเชิงประจักษ์
The objectives of the research were 1) to study the indicators and elements of personnel administration based on the four sublime states of mind of administrators in schools under Roi Et Informal and Non-formal Education Promotion Office 2) to examine structural validity and structural confidence of the indicators and elements and 3) to confirm the elements of personnel administration based on the four sublime states of mind of administrators in schools under Roi Et Informal and Non-formal Education Promotion Office. Samples were the administrators, teachers and educational supporters, totally 402 in number by choosing a proportion stratified sampling. The five-rating scale questionnaire was used as a tool collect the data, with its content validity in the rang 0.67-1.00, its item classification power in rang 0.458 - 0.913, and its reliability at 0.984. The statistical devices used for data analysis consisted of frequency, mean, standard deviation, and the consistency and appropria-teness of the measurement model by the confirmatory factor analysis: CFA. The research result were as follows: 1)Indicators and elements of personnel administration based on the four sublime states of mind of administrators in schools under Roi Et Informal and Non-formal Education Promotion Office in an overall aspect to exist at the “MUCH” level. That stood on the top of scale was Creating morale in work followed by that personnel performance evaluation, personnel development, personnel planning, setting personnel to work and maintain personnel. 2)The results of structural validity examination and structural confidence of the indicators and elements of personnel administration based on the four sublime states of mind of administrators in school were 6 elements and 60 Indicators, the statistical significance at the .01 level. The component weight value (λ) the elements that stood on the top of the scale was creating morale in work (λ = 0.776) followed by that followed by that personnel performance evaluation (λ = 0.731), personnel development (λ = 0.668), personnel planning (λ = 0.642), setting personnel to work (λ = 0.572), and maintain personnel (λ=0.562), respectively, results Confirm the personnel management components according to the four sublime states of mindof administrators in schools under Roi Et Informal and Non-formal Education Promotion Office. The model has Construct validity based on χ2 = 16.441, df = 9, p-value = 0.125, CFI = 0.965, TLI = 0.960, SRMR = 0.030, RMSEA = 0.003, χ2 / df = 1.827, and construct reliability: CR equals 0.985, which is greater than 0.60, indicating that the model is consistent and suitable for empirical data.
หนังสือ

    บทความนี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย คือ 1) เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมในการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของคณะกรรมการสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดร้อยเอ็ด 2) เพื่อเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมในการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของคณะกรรมการสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดร้อยเอ็ด จำแนกตามเพศ อายุ และอาชีพ 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะการมีส่วนร่วมในการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของคณะกรรมการสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการ ศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดร้อยเอ็ด กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ คณะกรรม การสถานศึกษาในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดร้อยเอ็ด จำนวน 123 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีความเที่ยงตรงของเนื้อหา (Content Validity) เท่ากับ 0.67-1.00 และมีความเชื่อมั่นเท่ากับ .95 ผลการวิจัยพบว่า: 1. สภาพการมีส่วนร่วมในการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของคณะกรรมการสถาน ศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดร้อยเอ็ด โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านโดยเรียงจากด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงไปต่ำ ได้แก่ ด้านการให้คำปรึกษาและพิจารณาให้ข้อเสนอแนะการดำเนินงาน ด้านการระดมทุนทางสังคมและทรัพยากร ด้านการกำกับ ติดตาม และประเมินผลการดำเนินงาน และด้านการวางแผนการดำเนินงาน 2.เปรียบเทียบการมีส่วนร่วมในการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของคณะกรรมการสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดร้อยเอ็ด จำแนกตามเพศ โดยรวม และด้านการระดมทุนทางสังคมและทรัพยากร ด้านการกำกับ ติดตาม และประเมินผลการดำเนินงานแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนด้านอื่น ๆ ไม่แตกต่างกัน จำแนกตามอายุ โดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน และจำแนกตามอาชีพ โดยรวมและด้านการให้คำปรึกษาและพิจารณาให้ข้อเสนอแนะการดำเนินงาน ด้านการกำกับ ติดตาม และประเมินผลการดำเนินงาน ด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 ส่วนด้านอื่น ๆ ไม่แตกต่างกัน 3.ข้อเสนอแนะในการมีส่วนร่วมการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของคณะกรรมการสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดร้อยเอ็ด ควรเปิดโอกาสให้คณะกรรมการสถานศึกษาเข้ามาส่วนคิดตัดสินใจ ร่วมวางแผน ร่วมทำงาน ร่วมในการ ค้นหาปัญหาและสาเหตุของปัญหาภายในสถานศึกษา ควรสร้างความรู้สึกผูกพันเพื่อร่วมกันในการบริหารสถานศึกษาให้บรรลุเป้าหมายให้เกิดประโยชน์สูงสุด สำรวจความต้องการในการมีส่วนร่วมสร้างประโยชน์โดยการสนับสนุนทรัพย์ วัสดุ อุปกรณ์และแรงงานหรือเข้าร่วมบริหารงานประสานงานและดำเนินการขอความช่วยเหลือจากภายนอก ควรมีการตรวจสอบ กำกับ ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบและแจ้งผลการประเมินให้ทราบทุกโดยยึดหลักการมีส่วนร่วมในการปฏิบัติหน้าที่เป็นตัวอย่างแก่สังคม
บทความนี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย คือ 1) เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมในการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของคณะกรรมการสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดร้อยเอ็ด 2) เพื่อเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมในการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของคณะกรรมการสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดร้อยเอ็ด จำแนกตามเพศ อายุ และอาชีพ 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะการมีส่วนร่วมในการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของคณะกรรมการสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการ ศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดร้อยเอ็ด กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ คณะกรรม การสถานศึกษาในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดร้อยเอ็ด จำนวน 123 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีความเที่ยงตรงของเนื้อหา (Content Validity) เท่ากับ 0.67-1.00 และมีความเชื่อมั่นเท่ากับ .95 ผลการวิจัยพบว่า: 1. สภาพการมีส่วนร่วมในการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของคณะกรรมการสถาน ศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดร้อยเอ็ด โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านโดยเรียงจากด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงไปต่ำ ได้แก่ ด้านการให้คำปรึกษาและพิจารณาให้ข้อเสนอแนะการดำเนินงาน ด้านการระดมทุนทางสังคมและทรัพยากร ด้านการกำกับ ติดตาม และประเมินผลการดำเนินงาน และด้านการวางแผนการดำเนินงาน 2.เปรียบเทียบการมีส่วนร่วมในการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของคณะกรรมการสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดร้อยเอ็ด จำแนกตามเพศ โดยรวม และด้านการระดมทุนทางสังคมและทรัพยากร ด้านการกำกับ ติดตาม และประเมินผลการดำเนินงานแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนด้านอื่น ๆ ไม่แตกต่างกัน จำแนกตามอายุ โดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน และจำแนกตามอาชีพ โดยรวมและด้านการให้คำปรึกษาและพิจารณาให้ข้อเสนอแนะการดำเนินงาน ด้านการกำกับ ติดตาม และประเมินผลการดำเนินงาน ด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 ส่วนด้านอื่น ๆ ไม่แตกต่างกัน 3.ข้อเสนอแนะในการมีส่วนร่วมการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของคณะกรรมการสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดร้อยเอ็ด ควรเปิดโอกาสให้คณะกรรมการสถานศึกษาเข้ามาส่วนคิดตัดสินใจ ร่วมวางแผน ร่วมทำงาน ร่วมในการ ค้นหาปัญหาและสาเหตุของปัญหาภายในสถานศึกษา ควรสร้างความรู้สึกผูกพันเพื่อร่วมกันในการบริหารสถานศึกษาให้บรรลุเป้าหมายให้เกิดประโยชน์สูงสุด สำรวจความต้องการในการมีส่วนร่วมสร้างประโยชน์โดยการสนับสนุนทรัพย์ วัสดุ อุปกรณ์และแรงงานหรือเข้าร่วมบริหารงานประสานงานและดำเนินการขอความช่วยเหลือจากภายนอก ควรมีการตรวจสอบ กำกับ ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบและแจ้งผลการประเมินให้ทราบทุกโดยยึดหลักการมีส่วนร่วมในการปฏิบัติหน้าที่เป็นตัวอย่างแก่สังคม
The purposes of this study were to 1) study on Administration participation based on good governance of school committee under Roi et Informal and Non-formal education promotion office 2) compare the Administration participation based on good governance of school committee under Roi et Informal and Non-formal education promotion office classified by gender, age, and occupation 3) study on suggestions for Administration participation based on good governance of school committee under Roi et Informal and Non-formal education promotion office. The sample group used in this research was 123 of school committee under Roi et Informal and Non-formal education promotion office. The instrument used for data collection was a 5 rating scale questionnaire with content validity equal to 0.67-1.00 and the confidence was .95 The results of this study found that 1. The condition of Administration participation based on good governance of school committee under Roi et Informal and Non-formal education promotion office overall was at a high level, considering each side, in order from the highest to the lowest, namely in providing advice and consideration on operating recommendations, social fundraising and resources, monitoring and evaluation of performance, and operational planning. 2. To compare the Administration participation based on good governance of school committee under Roi et Informal and Non-formal education promotion office classified by total gender and social fundraising and resources, monitoring and evaluation of performance was different with statistical significance at the level of .05. In the overall and other aspects were not different, classified by age overall and each side not different, and classified by occupation overall and in the field of providing advice and consideration on operating recommendations, and monitoring and evaluation of performance were significantly different at the level of .05, and there was no differences in other side. 3. Suggestions for Administration participation based on good governance of school committee under Roi et Informal and Non-formal education promotion office were the school committee should be given an opportunity in decision, plan, and solving the problems in the schools. There should be create a connection for school administration to achieve its goal for the most benefit, examine the need of participation in creating benefits by support assets, materials, equipment and labor or attending management, coordination and undertake external assistance, should be supervise, monitor and evaluate the systematic performance and inform the evaluation results every time by adhering to the participation in performing as an example for society.
หนังสือ

    การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน และสภาพที่พึงประสงค์ภาวะผู้นำตามแนวพุทธศาสตร์ของผู้บริหารสถานศึกษา ศูนย์ส่งเสริมประสิทธิภาพการศึกษาอำเภอเมืองร้อยเอ็ด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 1 2) เพื่อเปรียบเทียบภาวะผู้นำตามแนวพุทธศาสตร์ของผู้บริหารสถานศึกษา ศูนย์ส่งเสริมประสิทธิภาพการศึกษาอำเภอเมืองร้อยเอ็ด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 1 จำแนกตาม เพศ ตำแหน่ง ระดับการศึกษา และประสบการณ์การทำงาน 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะภาวะผู้นำตามแนวพุทธศาสตร์ของผู้บริหารสถานศึกษา ศูนย์ส่งเสริมประสิทธิภาพการศึกษาอำเภอเมืองร้อยเอ็ด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การ ศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 1 กลุ่มตัวอย่าง คือ บุคลากรทางการศึกษา จำนวน 364 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพปัจจุบันภาวะผู้นำตามแนวพุทธศาสตร์ของผู้บริหารสถานศึกษา โดยรวมอยู่ในระดับมาก เรียงลำดับจากค่าเฉลี่ยสูงสุดไปต่ำสุด คือ ด้านหลักการครองงานใช้หลักธรรม อิทธิบาท 4 รองลงมา คือ ด้านหลักการครองตนใช้หลักธรรมสัปปุริสธรรม 7 ด้านหลักการครองคนใช้หลักธรรมพรหมวิหาร 4 ส่วนสภาพที่พึงประสงค์ โดยรวมอยู่ในระดับมาก เรียงลำดับจากค่าเฉลี่ยสูงสุดไปต่ำสุด คือ ด้านหลักการครองงานใช้หลักธรรม อิทธิบาท 4 รองลงมา คือ ด้านหลักการครองตนใช้หลัก ธรรม สัปปุริสธรรม 7 ด้านหลักการครองคนใช้หลักธรรมพรหมวิหาร 4 ความต้องการจำเป็น โดยรวมมีค่า เฉลี่ย = 0.18 เมื่อพิจารณาด้านที่มีความต้องจำเป็นสูงที่สุดไปหาต่ำสุด คือ ด้านหลักการครองคนใช้หลักธรรมพรหมวิหาร 4, ด้านหลักการครองงานใช้หลักธรรม อิทธิบาท 4 มีค่า PNImodified = 0.19 ด้านหลักการครองตนใช้หลักธรรมสัปปุริสธรรม 7 ค่า PNImodified = 0.18 2) เปรียบเทียบภาวะผู้นำตามแนวพุทธศาสตร์ของผู้บริหารสถานศึกษา จำแนกตาม เพศ ตำแหน่ง ระดับการศึกษา และประสบการณ์ในการทำงาน ไม่แตกต่างกัน 3) ข้อเสนอแนะภาวะผู้นำตามแนวพุทธศาสตร์ของผู้บริหารสถานศึกษา ที่สำคัญคือผู้บริหารมีความเที่ยงธรรมไม่เอนเอียงต่อความไม่ชอบหรือชอบ ไม่ดำรงตนอยู่ในความประมาท รักษาผลประโยชน์และปกป้องผู้บังคับบัญชาด้วยความเป็นธรรม กำหนดนโยบายให้ชัดเจนและกำกับติดตาม
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน และสภาพที่พึงประสงค์ภาวะผู้นำตามแนวพุทธศาสตร์ของผู้บริหารสถานศึกษา ศูนย์ส่งเสริมประสิทธิภาพการศึกษาอำเภอเมืองร้อยเอ็ด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 1 2) เพื่อเปรียบเทียบภาวะผู้นำตามแนวพุทธศาสตร์ของผู้บริหารสถานศึกษา ศูนย์ส่งเสริมประสิทธิภาพการศึกษาอำเภอเมืองร้อยเอ็ด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 1 จำแนกตาม เพศ ตำแหน่ง ระดับการศึกษา และประสบการณ์การทำงาน 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะภาวะผู้นำตามแนวพุทธศาสตร์ของผู้บริหารสถานศึกษา ศูนย์ส่งเสริมประสิทธิภาพการศึกษาอำเภอเมืองร้อยเอ็ด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การ ศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 1 กลุ่มตัวอย่าง คือ บุคลากรทางการศึกษา จำนวน 364 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพปัจจุบันภาวะผู้นำตามแนวพุทธศาสตร์ของผู้บริหารสถานศึกษา โดยรวมอยู่ในระดับมาก เรียงลำดับจากค่าเฉลี่ยสูงสุดไปต่ำสุด คือ ด้านหลักการครองงานใช้หลักธรรม อิทธิบาท 4 รองลงมา คือ ด้านหลักการครองตนใช้หลักธรรมสัปปุริสธรรม 7 ด้านหลักการครองคนใช้หลักธรรมพรหมวิหาร 4 ส่วนสภาพที่พึงประสงค์ โดยรวมอยู่ในระดับมาก เรียงลำดับจากค่าเฉลี่ยสูงสุดไปต่ำสุด คือ ด้านหลักการครองงานใช้หลักธรรม อิทธิบาท 4 รองลงมา คือ ด้านหลักการครองตนใช้หลัก ธรรม สัปปุริสธรรม 7 ด้านหลักการครองคนใช้หลักธรรมพรหมวิหาร 4 ความต้องการจำเป็น โดยรวมมีค่า เฉลี่ย = 0.18 เมื่อพิจารณาด้านที่มีความต้องจำเป็นสูงที่สุดไปหาต่ำสุด คือ ด้านหลักการครองคนใช้หลักธรรมพรหมวิหาร 4, ด้านหลักการครองงานใช้หลักธรรม อิทธิบาท 4 มีค่า PNImodified = 0.19 ด้านหลักการครองตนใช้หลักธรรมสัปปุริสธรรม 7 ค่า PNImodified = 0.18 2) เปรียบเทียบภาวะผู้นำตามแนวพุทธศาสตร์ของผู้บริหารสถานศึกษา จำแนกตาม เพศ ตำแหน่ง ระดับการศึกษา และประสบการณ์ในการทำงาน ไม่แตกต่างกัน 3) ข้อเสนอแนะภาวะผู้นำตามแนวพุทธศาสตร์ของผู้บริหารสถานศึกษา ที่สำคัญคือผู้บริหารมีความเที่ยงธรรมไม่เอนเอียงต่อความไม่ชอบหรือชอบ ไม่ดำรงตนอยู่ในความประมาท รักษาผลประโยชน์และปกป้องผู้บังคับบัญชาด้วยความเป็นธรรม กำหนดนโยบายให้ชัดเจนและกำกับติดตาม
The purposes of this study were to 1) to study and desirable condition on Buddhist Approach Leadership of School Administrators At Roi Et Education Efficiency Promotion Center Under Elementary Educational Service Area Office 1 2) to compare Buddhist Approach Leadership of School Administrators At Roi Et Education Efficiency Promotion Center Under Elementary Educational Service Area Office 1 classified by the difference of gender, position, education and experience 3) to study on recommenda-tions for Buddhist Approach Leadership of School Administrators at Roi Et Education Efficiency Promotion Center Under Elementary Educational Service Area Office 1. The samples were 364. The instruments used for collecting data were rating scale questionnaire with 5 levels. The results of this study found that: 1)Buddhist Approach Leadership of School Administrators At Roi Et Education Efficiency Promotion Center Under Elementary Educational Service Area Office 1 overall was at a high level. When considering each side, arranged from the highest to the lowest, with principles of occupation on Principle of Itt Baht 4, principles of self-possession Using the principle of Sapphuristhamma 7 and principles of occupying people Using the principle of Brahma Vihara 4. Desirable condition overall was at a high level. When considering each side, arranged from the highest to the lowest, with principles of occupation on Principle of Itt Baht 4, principles of self-possession Using the principle of Sapphuristhamma 7 and principles of occupying people Using the principle of Brahma Vihara 4. Need Overall there is an average PNImodified =0.18, principles of occupying people Using the principle of Brahma Vihara 4, principles of occupation on Principle of Itt Baht 4 PNImodified = 0.19 and principles of self-possession Using the principle of Sapphuristhamma 7 PNImodified =0.18 2)Compare Buddhist Approach Leadership of School Administrators At Roi Et Education Efficiency Promotion Center Under Elementary Educational Service Area Office 1 classified by the difference of gender, position, education and experience Overall was no different. 3)Study on recommendations for Buddhist Approach Leadership of School Administrators At Roi Et Education Efficiency Promotion Center Under Elementary Educational Service Area Office 1. Executives must be generous. Being fair and not inclined to dislike or like, prudence, does not live in negligence, maintain interests and protect supervisors with fairness. Establish clear policies and monitor them.